การจัดการเรียนรู้วิชาภูมิศาสตร์และเศรษฐศาสตร์โดยใช้ปัญหาเป็นฐานแบบร่วมมือ ร่วมกับสื่อสังคมออนไลน์ เพื่อพัฒนาความสามารถในการคิดแก้ปัญหา ของนักเรียนวิทยาลัยนาฏศิลป

Main Article Content

ปิยะบุตร ถิ่นถา

บทคัดย่อ

บทความวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อ 1) เพื่อศึกษาระดับความสามารถในการคิดแก้ปัญหา 2) เพื่อศึกษาพัฒนาการความสามารถในการคิดแก้ปัญหาโดยใช้ปัญหาเป็นฐานแบบร่วมมือร่วมกับสื่อสังคมออนไลน์ ของนักเรียนวิทยาลัยนาฏศิลป และ 3) เพื่อศึกษาความพึงพอใจของนักเรียนวิทยาลัยนาฏศิลป ที่มีต่อการจัดการเรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็นฐานแบบร่วมมือร่วมกับสื่อสังคมออนไลน์ กลุ่มตัวอย่าง คือ นักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นปีที่ 1/2 วิทยาลัยนาฏศิลป จำนวน 42 คน ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2563 จากการเลือกแบบเจาะจง เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ประกอบไปด้วย แผนการจัดการเรียนรู้ จำนวน 4 แผน แบบวัดความสามารถในการคิดแก้ปัญหา และแบบสอบถามความพึงพอใจของนักเรียนวิทยาลัยนาฏศิลป ที่มีต่อการจัดการเรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็นฐานแบบร่วมมือร่วมกับสื่อสังคมออนไลน์ วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้ ค่าเฉลี่ยและส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ผลการวิจัย พบว่า 1) นักเรียนมีความสามารถในการคิดแก้ปัญหาอยู่ในระดับดี (gif.latex?\bar{x}= 3.10, S.D. = 0.57) 2) ความสามารถในการคิดแก้ปัญหาของนักเรียนมีพัฒนาการที่สูงขึ้น และ 3) นักเรียนมีความพึงพอใจที่มีต่อการจัดการเรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็นฐานแบบร่วมมือร่วมกับสื่อสังคมออนไลน์ อยู่ในระดับดี (gif.latex?\bar{x}= 4.45, S.D. = 0.55)

Article Details

บท
บทความวิจัย

References

กนกทิพย์ พัฒนาพัวพันธ์. (2543). สถิติเบื้องต้นทางการศึกษา. เชียงใหม่ : ภาควิชาประเมินผลและวิจัยการศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.
Patanapuapan, K. (2000). Introduction to statistics in education. Chiang Mai: Department of Educational Evaluation and Research, Faculty of Education, Chiang Mai University. (in Thai).
กระทรวงศึกษาธิการ. (2551). หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551. กรุงเทพฯ : ชุมนุมสหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย.
Ministry of Education. (2008). Basic Education Core Curriculum B.E. 2551 (A.D. 2008). Bangkok: The Agricultural Co-operative Federation of Thailand. (in Thai).
กระทรวงศึกษาธิการ. (2560). ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลาง สาระภูมิศาสตร์ (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2560) กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ และแนวการจัดกิจกรรมการเรียนรู้. สืบค้น 23 พฤศจิกายน 2563, จาก https://rb.gy/ckwbng
Ministry of Education. (2017). Indicators and Core Learning Areas Geography (Revised Edition B.E. 2560) (A.D. 2017) Department of Social Studies, Religion and Culture According to the basic Education Core Curriculum B.E. 2551 (A.D. 2008) and Guidelines of Organizing Learning Activities. Retrieved November 23, 2020 from https://rb.gy/ckwbng (in Thai).
จิราพร โบสิทธิพิเชฎฐ์. (2558). การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและทักษะกระบวนการคิดแก้ปัญหา เรื่อง สังคมไทย ของนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โดยใช้การจัดการเรียนรู้ด้วยกระบวนการเผชิญสถานการณ์. วารสารวิชาการ Veridian E-Journal, Silpakorn University ฉบับภาษาไทย สาขามนุษยศาสตร์ สังคมศาสตร์ และศิลปะ, 8(2), 1625.
Bosittipichet, J. (2015). The Development of Learning Achievement and Problem Solving Thinking Process Skills on Thai Social of Mathayomsuksa Three Studentsby Situation Confrontation Process. Veridian E-Journal,Silpakorn University (Humanities, Social Sciences and arts), 8(2), 1625. (in Thai).
ชรินทร์ มั่งคั่ง. (2551). องค์ความรู้หลักสูตรและการสอนสังคมศึกษา. เชียงใหม่: ลูกช้างนานามีเดียเซ็นเตอร์.
Mangkhang, C. (2008). Knowledge of curriculum and teaching in social studies. Chiang Mai: loogchangnana Media Center. (in Thai).
ชลธิช ณ ลำปาง. (2560). การพัฒนาการจัดการเรียนรู้แบบห้องเรียนกลับทาง ร่วมกับการคิดแก้ปัญหา ผ่านสังคมเครือข่าย Edmodo. วารสารศึกษาศาสตร์ ฉบัับวิจัยบัณฑิตศึกษา มหาวิทยาลัยขอนแก่น, 11(3), 48.
Na Lampang, C. (2017). The Development of Instructional Process of Flipped Classroom with Problem Solving via Social Network Edmodo. Journal of Education Graduate Studies Research, KKU, 11(3), 48. (in Thai).
ฐิพากาญษ์ โยธารักษ์. (2562). การพัฒนาบทเรียนผ่านสื่อสังคมออนไลน์ เรื่อง ผังงาน สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2. วารสาร e-Journal of Education Studies, Burapha University, 2(3), 1.
Yotharag, T. (2020). A Development Online Social Media Lesson on Flowchart for Mathayomsuksa 2 Students. e-Journal of Education Studies, Burapha University, 2(3), 1. (in Thai).
นฤพนธ์ สายเสมา. (2555). การนำ Social Media มาใช้ในการจัดการเรียนรู้. สืบค้น 23 พฤศจิกายน 2563, จาก https://1th.me/vD3Fi
Saisema, N. (2012). The Social Media Implementation in Learning Management. Retrieved November 23, 2020 from https://1th.me/vD3Fi (in Thai).
บรรจง อมรชีวิน. (2556). Thinking classroom : เปลี่ยนห้องเรียนให้เป็นห้องคิดด้วยการสืบถามเชิงปรัชญา. กรุงเทพฯ: ภาพพิมพ์.
Amornchewin, B. (2013). Thinking classroom : philosophical enquiry for Thinking classroom. Bangkok: Parbpim. (in Thai).
ประพันธ์ศิริ สุเสารัจ. (2556). การพัฒนาการคิด. กรุงเทพฯ : 9119 เทคนิคพริ้นติ้ง.
Susaorat, P. (2013). The development of ideas. Bangkok: 9119 Technical Printing. (in Thai).
ปิยนาถ สุทธิประภา. (2560). การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชาเศรษฐศาสตร์ ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษา ปีที่ 5 โดยการจัดการเรียนรู้แบบร่วมมือเทคนิค TGT. วิทยานิพนธ์ปริญญาครุศาสตรมหาบัณฑิต สาขาหลักสูตรและการเรียนการสอน คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม.
Sutthipra, P. (2017). The Development of Learning Achievement; Economic of Mathayomsuksa 5 Students by Collaborative Learning Management Technique TGT. Master of Education in Curriculum and Instruction, Faculty of Education, Rajabhat Maha Sarakham University. (in Thai).
พัชฎาพรรณ แสงตะวัน. (2558). การพัฒนาการจัดการเรียนรู้โดยประยุกต์แนวคิดการใช้ปัญหาเป็นฐานประกอบกลุ่มร่วมมือ วิชาการบัญชีเบื้องต้น เพื่อส่งเสริมผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและแรงจูงใจใฝ่สัมฤทธิ์ ของนักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) ชั้นปีที่ 1. วิทยานิพนธ์ปริญญาการศึกษามหาบัณฑิต สาขาวิชาหลักสูตรและการสอน คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม.
Saengtawan, P. (2015). Development of Learning Management Approach Based on Problem-Based Learning and Cooperative Learning to Enhance Academic Achievement and Achievement Motivation of Vocational Certificate Students for the First Year Level, in Basic Accounting Subject. Master of Education in Curriculum and Instruction, Faculty of Education, Mahasarakham University. (in Thai).
ไพฑูรย์ สินลารัตน์. (2549). การศึกษาเชิงสร้างสรรค์และผลิตภาพ. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
Sinlarat, P. (2006). Creative and Productive Education. Bangkok: Chulalongkorn University Printing House. (in Thai).
วลัย อิศรางกูร ณ อยุธยา. (2555). ครูสังคมศึกษากับการพัฒนาทักษะแก่นักเรียน. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
Isarankura Na Ayudhaya, W. (2012). Social Studies Teachers with development skill for students. Bangkok: Chulalongkorn University Printing House. (in Thai).
ศศิธร พงษ์โภคา. (2558). การพัฒนาความสามารถในการคิดแก้ปัญหา ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 โดย การจัดการเรียนรู้ ด้วยเทคนิคการแก้ปัญหาอนาคตร่วมกับแผนผังความคิด. วารสารวิชาการ Veridian E-Journal, Silpakorn University ฉบับภาษาไทย สาขามนุษยศาสตร์ สังคมศาสตร์ และศิลปะ, 8(2), 1224.
Pongphoka, S. (2015). The development of problem solving thinking ability of mutthayomsuksa 6 Students by future problem solving technique and mind mapping. Veridian E-Journal,Silpakorn University (Humanities, Social Sciences and arts), 8(2), 1224. (in Thai).
สมศักดิ์ ภู่วิภาดาวรรธน์. (2545). การยึดผู้เรียนเป็นศูนย์กลางและการประเมินตามสภาพจริง. กรุงเทพฯ: เดอะโนว์เลจ.
Phuvipadawat, S. (2002). Learner Centerdness & Authentic Assessment.Bangkok: The Knowledge. (in Thai).
สิริกานต์ มุ่ยจันตา. (2563). ผลการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ โดยใช้ปัญหาเป็นฐานแบบร่วมมือ ร่วมกับเกมกระดาน เพื่อส่งเสริมสมรรถนะการแก้ปัญหาแบบร่วมมือและผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 เรื่อง การเคลื่อนที่แบบโพรเจกไทล์และการเคลื่อนที่แบบวงกลม. วิทยานิพนธ์ปริญญาการศึกษามหาบัณฑิต สาขาวิชาวิทยาศาสตร์ศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร.
Muyjunta, S. (2020). Effects of Using Cooperative Problem-based Learning and Board Game on Grade 10 Students' Achievement And Collaborative Problem Solving Competency in Projectile and Circular Motions. Master of Education in Science Education, Faculty of Education, Naresuan University. (in Thai).
สุคนธ์ สินธพานนท์, วรรัตน์ วรรณเลิศลักษณ์และพรรณี สินธพานนท์. (2555). พัฒนาทักษะการคิด ตามแนวปฏิรูปการศึกษา. กรุงเทพฯ: 9119 เทคนิคพริ้นติ้ง.
Sintapanon, S, wanalertlak, W & Sintapanon, P. (2012). The Development Thinking Skill According to the Educational Reform. Bangkok: 9119 Technical Printing. (in Thai).
สุนทร พลเรือง. (2563). การพัฒนาการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบเชิงรุกวิชาเคมี เรื่อง ปริมาณสัมพันธ์ โดยใช้ สื่อสังคมออนไลน์ Facebook และ Google Classroom ควบคู่กับการสอนปกติ. วารสารคุรุสภา วิทยาจารย์, 1(2), 97.
Pholrueang, S. (2020). A Development of Active Learning Activities in Chemistry through Using Social Media, Facebook and Google Classroom, together with Regular Teaching. Journal of Teacher Professional Development, 1(2), 97. (in Thai).
เสาวลักษณ์ สุวรรณรงค์, อัคพงศ์ สุขมาตย์และไพฑูรย์ พิมดี. (2558). การพัฒนาชุดการสอนเพื่อเสริมสร้างการคิดอย่างเป็นระบบ โดยใช้การจัดการเรียนรู้แบบร่วมมือและใช้ปัญหาเป็นฐาน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 โรงเรียน บดินทรเดชา (สิงห์ สิงหเสนี). วารสารครุศาสตร์อุตสาหกรรม, 14(3), 78.
Suwannarong, S, Sukkamart, A & Pimdee, P. (2015).The Development of Instructional Packages for Reinforce The System Thinking with Cooperative and Problem-Based Learning for Mathayomsuksa 5 at Bodindecha (Sing Singhaseni) School. Journal of Industrial Education, 14(3), 78. (in Thai).
อรรฏชณม์ สัจจะพัฒนกุลและอัฐณีญา สัจจะพัฒนกุล. (2562). สังคมศึกษาเพื่อการพัฒนาท้องถิ่นอย่างยั่งยืน : เตรียมพลเมืองเพื่อสร้างสรรค์ชุมชนน่าอยู่อย่างมีส่วนร่วมผ่านหลักสูตรวิชาสังคมศึกษาเชิงพื้นที่. วารสารมหาวิทยาลัยราชภัฏลำปาง, 8(1), 207.
Sajjaphattanakul, A & Sajjapatthanakul, A. (2019). Social Studies for Sustainable Development: preparing a Citizen to create a Livable Community Participation through Area Based of Social Studies Curriculum. Lampang Rajabhat University Journal, 8(1), 207. (in Thai).
อังคณา ตุงคะสมิต. (2560). การวิจัยนวัตกรรมทางสังคมศึกษา. ขอนแก่น: คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น.
Tungkasamit, A. (2017). Research for Innovation in Social Studies. Khon Kaen: Faculty of Education, Khon Kaen University. (in Thai).
อาภัสรา คนงาน. (2559). การพัฒนาความสามารถในการคิดแก้ปัญหาเรื่องสถานการณ์ด้านทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมในทวีปอเมริกาของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โดยผ่านกระบวนการออกแบบการจัดการเรียนการสอนเชิงระบบ. วารสารวิชาการ Veridian E-Journal, Silpakorn University ฉบับภาษาไทย สาขามนุษยศาสตร์ สังคมศาสตร์ และศิลปะ, 9(2), 1495.
Konngan, A. (2016). The development of problem solving thinking abilities on the situation of
natural resources and environment in America of Mathayomsuksa 3 students through instructional system design. Veridian E-Journal,Silpakorn University (Humanities, Social Sciences and arts), 9(2), 1495. (in Thai).
อิทธิพัทธ์ ศุภรัตนาวงศ์. (2559). การศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและความสามารถในการแก้ปัญหา เรื่อง สังคมไทยของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ด้วยการเรียนรู้แบบผสมผสานโดยใช้ปัญหาเป็นฐานร่วมกับสังคมออนไลน์. วารสารวิชาการ Veridian E-Journal, Silpakorn University ฉบับภาษาไทย สาขามนุษยศาสตร์ สังคมศาสตร์ และศิลปะ, 9(2), 1734.
Suppharattanawong, I. (2016). A Studies Of Learning Achievement And Problem Solving Abilities On Thai Social Of Mathayomsuksa 3 Students By Blending Learning Using Problem Based Learning With Social Network. Veridian E-Journal,Silpakorn University (Humanities, Social Sciences and arts), 9(2), 1734. (in Thai).
Best, J. W. (1986). Research in education 5th ed. Englewood Cliffs, NJ: Practice-Hall.
Panlumlers, K & Wannapiroon, P. (2015). Design of cooperative problem-based learning activities to enhance cooperation skill in online environment. Procedia - Social and Behavioral Sciences, 174(2015), 2188.
Yusof, K. M., Hassan, S. A. H. S., Jamaludin, M. Z. & Harun, N. F. (2012). Cooperative Problem-based Learning (CPBL): Framework for Integrating Cooperative Learning and Problem-based Learning. Procedia Social and Behavioral Sciences, 56(2012), 226.