การเปรียบเทียบกลวิธีการสร้างคำเรียกสีไม่พื้นฐานในภาษาล้านนา 5 ช่วงสมัย A Comparison of Strategies in Constructing Non-Basic Color Terms in the Lanna Language in 5 Periods

Main Article Content

ศราวุธ หล่อดี
ผณินทรา ธีรานนท์

Abstract

The objectives of this research are to analyze and compare language strategies in constructing non-basic color terms in Lanna language within the 5 periods. The information from Thai stone inscriptions and Lanna documents transformed to Standard Thai language were selected to study. It was found that, during 1898-2100 B.E., non-basic color terms did not appear; however, two hundred seventy seven non-basic color terms were found during 2101-2316 B.E., 2317-2474 B.E., 2475-2503 B.E., and during 2504-2560 B.E., 4 strategies were used to construct non-basic color terms in Lanna language. They were 1) Joining basic color terms with basic color terms, 2) Basic color term extension 3) Non-basic color term extension and 4) specific nouns used as color terms. According to a comparison among language strategies in constructing non-basic color terms, for both main strategy and sub strategy, it was found that the most used strategy is adding a modifier indicating quality of an object to modify basic color terms. The least used strategy is a combination of 7 modifiers to modify basic color terms and specific nouns used as color terms. Then, specific nouns are usually modified by using metaphor.

Downloads

Download data is not yet available.

Article Details

Section
Articles

References

ธนัฏฐากุล พรทิพยพานิช. (2557). คำเรียกสีในภาษาไทยสมัยธนบุรีและสมัยรัตนโกสินทร์. วิทยานิพนธ์ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต, สาขาภาษาศาสตร์ประยุกต์, บัณฑิตวิทยาลัย, มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.

ธีระ รุ่งธีระ. (2554). ภาพสะท้อนทางสังคมและวัฒนธรรมจากคำเรียกสีในภาษาฝรั่งเศส. วารสารอักษรศาสตร์ มหาวิทยาลัย
ศิลปากร, 33(2), 271-291.

วิพาที ทิพย์คงคา. (2553). คำเรียกสีในภาษาไทยสมัยอยุธยา. วิทยานิพนธ์ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต, สาขาภาษาศาสตร์ประยุกต์,
บัณฑิตวิทยาลัย, มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.

ศุภมาส เอ่งฉ้วน. (2543). คำเรียกสีและมโนทัศน์เรื่องสีของคนไทยสมัยสุโขทัยและสมัยปัจจุบัน. วิทยานิพนธ์อักษรศาสตรดุษฎีบัณฑิต, สาขาวิชาภาษาศาสตร์, จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

สรัสวดี อ๋องสกุล. (2557). ประวัติศาสตร์ล้านนา (พิมพ์ครั้งที่ 10). กรุงเทพฯ: อมรินทร์พริ้นติ้งแอนด์พับลิชชิ่ง.

สาริสา อุ่นทานนท์. (2550). คำเรียกสีในภาษาลาว. วารสารมนุษยศาสตร์ สังคมศาสตร์, 24(1), 33-46.

อภิญญา เพชรวิชิต. (2545). การสร้างคำเรียกสีในภาษาไทยและภาษาลาว. การศึกษาค้นคว้าอิสระ ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต, สาขาวิชาภาษาไทย, มหาวิทยาลัยมหาสารคาม.

อมรา ประสิทธิ์รัฐสินธุ์. (2538). คำเรียกสีและการรับรู้สีของชาวจ้วงและชาวไทย. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

อุดม รุ่งเรืองศรี. (2524). ระบบการเขียนอักษรลานนา (พิมพ์ครั้งที่ 2). เชียงใหม่: ภาควิชาภาษาไทย คณะมนุษยศาสตร์
มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.

อุดม รุ่งเรืองศรี. (2546). วรรณกรรมล้านนา (พิมพ์ครั้งที่ 2). กรุงเทพฯ: สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย.

Berlin, B. & Kay, P. (1969). Basic Color Terms: Their Universality and Evolution. Berkeley and Los Angeles: University of California Press.

Crawford, T. D. (1982). Defining “Basic Color Terms”. Anthropological Linguistics, 24(3), 338-343.

Kay, P. & McDaniel, C. K. (1978). The Linguistic Significance of the Meanings of Basic Color Terms. Language,
54(3), 610-646.