เรื่องเล่าทีดัดแปลงจากบทพระราชนิพนธ์พระมหาชนกของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดช: การศึกษาในฐานะวรรณกรรมเฉลิมพระเกียรติ Narratives Adapted from the Story of Mahajanaka of King Bhumibol: A Study as Panegyric Literature

Main Article Content

รัชนีกร รัชตกรตระกูล

Abstract

This article aims to study the characteristics of panegyric literature that appear in the narratives from the story of Mahajanaka and to study the role of narratives from the story of Mahajanaka as panegyric literature. The study reveals that two characteristics of panegyric literature appear in the narratives from the story of Mahajanaka. The first is content used to glorify King Bhumibol that conforms to the composition of traditional panegyric literature, such as the invocation, the purpose of glorification, the description of royal duties, as well as the conclusion. The second is the adaptation of the story of Mahajanaka using features of glorification, namely: the adjustment of content, creation of the story elements and creation of aesthetic elements. The role of the narratives from the story of Mahajanaka as panegyric literature indicates the dynamics of panegyric literature in that the message of glorification is now conveyed through the new media to mass audiences.

Downloads

Download data is not yet available.

Article Details

Section
Articles

References

กิตติศักดิ์ เกิดอรุณสุขศรี. (2552). “จากวรรณคดีสู่ละครเวทีร่วมสมัย กรณีศึกษาเรื่องมหาชนก Never Say Die”, ใน ธเนศ เวศร์ภาดา (บรรณาธิการ). อยู่คู่กาลกับโลก การศึกษาวรรณคดี วรรณกรรม และสือร่วมสมัย.กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย.

คมวชัวร์ พสูริจันทร์แดง.(2558). การสร้างสรรค์นาฏยศิลป์ผ่านพัฒนาการด้านปรัชญาในเรื่องพระมหาชนก. วิทยานิพนธ์
ศิลปกรรมศาสตรดุษฎีบัณฑิต, ภาควิชาดุริยางคศิลป์, คณะศิลปกรรมศาสตร์, จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

คำยวง วราสิทธิชัย. (2549). “มองวรรณกรรมพระราชพิธีในฐานะวรรณกรรมเฉลิมพระเกียรติ”. วรรณวิทัศน์ (พฤศจิกายน) ,หน้า 31-71.

จักรกฤษณ์ ดวงพักตรา. (2541). บทสำหรับแสดงและบทสำหรับอ่าน เรื่องพระมหาชนกแปรรูปจากพระราชนิพนธ์พระบาทสมเด็จ พระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดช. กรุงเทพฯ: สถาบันภาษาไทย กรมวิชาการ กระทรวงศึกษาธิการ.

ปัทมา ฑีฆประเสริฐกุล. (2556). ยวนพ่ายโคลงดั้น: ความสำคัญที่มีต่อการสร้างขนบและพัฒนาการของวรรณคดีประเภท ยอพระเกียรติของไทย. วิทยานิพนธ์ปริญญาอักษรศาสตรดุษฎีบัณฑิต, สาขาวิชาภาษาไทย, ภาควิชาภาษาไทย, คณะอักษรศาสตร์, จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

ภูมิพลอดุลยเดช, พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว. (2538). พระราชนิพนธ์เรื่องเมื่อข้าพเจ้าจากสยามมาสู่สวิทเซอร์แลนด์. วัฒนธรรมไทย. 33(ธันวาคม), 12 – 18.

โมเดิร์นไนน์ ทีวี. ละครเทิดพระเกียรติพระมหาชนก. สืบค้นเมื่อ 29 พฤษภาคม 2558. จาก https://www.youtube.com
/watch?v=lkTJU6jLBwM

ยุพร แสงทักษิณ. (2537).วรรณคดียอพระเกียรติ. กรุงเทพฯ: องค์การค้าของคุรุสภา.

รุจิภาส ภูธนัญนฤภัทร. (2555). ซิมโฟนีอุปรากร: พระมหาชนก.วิทยานิพนธ์ศิลปกรรมศาสตรดุษฎีบัณฑิต, ภาควิชาดุริยางคศิลป์,
คณะศิลปกรรมศาสตร์, จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

วรางคณา ศรีกำเหนิด. (2558). “โคลงดั้นเรื่องปฏิสังขรณ์วัดพระเชตุพน: จากบันทึกประวัติศาสตร์สู่การสร้างสรรค์วรรณกรรม ยอพระเกียรติ”, วรรณวิทัศน์. (ฉบับพิเศษ), 33-76.

สำนักงานส่งเสริมอุตสาหกรรมซอฟต์แวร์แห่งชาติ (องค์กรมหาชน). การ์ตูนแอนิเมชันเรื่องพระมหาชนก.,สืบค้นเมื่อ 29 พฤษภาคม
2558. จาก https://www.youtube.com/watch?v=oESIu4nT7Uw

สำนักนายกรัฐมนตรี. พระมหาชนเดอะฟีโนมีนอลไลฟ์โชว์, สืบค้นเมื่อ 29 พฤษภาคม 2558. จาก https://www.youtube.com
/watch?v=I9k8nsR

สุชาติ เถาทอง, สังคม ทองมี, ธำรงศักดิ์ ธำรงเลิศฤทธิ์ และ รอง ทองดาดาษ. (2551). หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน ทัศนศิลป์ ม.1.
กรุงเทพฯ: อักษรเจริญทัศน์.

สุภัค มหาวรากร. (2556). “นาฏยลีลาพระมหาชนก: การสร้างสรรค์ชาดกในสังคมไทย”. วารสารไทยศึกษา, 9(1). ฉบับที่ 1, 139-164.

สุรพงษ์ โสธนะเสถียร. (2554). การอภิปรายความบทพระราชนิพนธ์พระมหาชนก. กรุงเทพฯ: สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย.

เสาวณิต วิงวอน. (2530). การศึกษาวิเคราะห์วรรณกรรมยอพระเกียรติ. วิทยานิพนธ์ปริญญาอักษรศาสตรดุษฎีบัณฑิต, ภาควิชาภาษา
ไทย, คณะอักษรศาสตร์, จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

อักษราวดี เสียงดัง. (2555). เอกลักษณ์ไทยในการแสดงวิจิตรนาฏกรรมเฉลิมพระเกียรติพระมหาชนก. วิทยานิพนธ์ศิลปกรรมศาสตรมหาบัณฑิต, ภาควิชานาฏยศิลป์ไทย, คณะศิลปกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

เอ จี เอนเตอร์เทนเมนท์. (2543.) ลิเกการกุศล เรื่องพระมหาชนก, (ซีดีรอม). กรุงเทพฯ: บริษัท บี.เค.พี.อินเตอร์ เนชั่นแนล.

อิราวดี ไตลังคะ. (2543). ศาสตร์และศิลป์แห่งการเล่าเรื่อง. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.