ปัจจัยทีส่งผลต่อประสิทธิผลการดำเนินงานของโรงพยาบาลชุมชน ในเขตบริการสุขภาพที 3-6 Factors Affecting the Operational Effectiveness of Community Hospital in Regional Service Provider 3-6

Main Article Content

ประภัสสร เจริญนาม
พงษ์เสฐียร เหลืองอลงกต

Abstract

The objectives of this study were to 1) study the level of the operational effectiveness of community hospital in regional service provider 3–6, 2) compare the actual and expected operational effectiveness of community hospital, 3) test the consistency of the developed model for causal relationship between factors affecting the operational effectiveness with the empirical data, and 4) explore the direct, indirect and total influences of causal factors affecting the operational effectiveness. There were 200 participants used as a sample group. A path analysis model was administered to test the consistency of the developed model for causal relationship between factors affecting the operational effectiveness with the empirical data and to explore the direct, indirect and total effects on the operational effectiveness. The results of the study were as follows: 1) The operational effectiveness of community hospital in regional service provider 3-6 was at a very good level. 2) There were statistical significant differences in the level of expected and actual operational effectiveness of community hospital at a significant level of 0.01. 3) Results of consistent with the empirical data. From the index criteria used to test the consistency of the developed model. A consistent level up to standardized. Conclusions the model for causal relationship was consistent with the empirical data. 4) Administrators’ leadership, personnel’s morale, personnel’s participation, organizational atmosphere, and information technology had a direct and total direct effects on the operational effectiveness at a significant level of .01. It was found that the administrators’ leadership had indirect effects on operational effectiveness by their passing personnel’s morale.

Downloads

Download data is not yet available.

Article Details

Section
Articles

References

กรมอาเซียน, กระทรวงการต่างประเทศ. (2556). กองยุทธศาสตร์และความร่วมมืออาเซียน:กลุ่มงานนโยบาย.

กระทรวงสาธารณสุข.(2559). แผนพัฒนาระบบบริการสุขภาพ (Service Plan) พ.ศ.2561-2565. กรุงเทพฯ:ชุมนุมสหกรณ์การเกษตร
แห่งประเทศไทย จำกัด.

กัญญรัตน์ อ่อนศรี. (2552). การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศของบุคคลากรโรงพยาบาลชุมชน สังกัดกระทรวงสาธารณสุข จังหวัดสระบุรี.วิทยานิพนธ์ปริญญาบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต, สาขาวิชาบริหารธุรกิจ, มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์.

จิรชาติ เชื้อภักดี. (2550). ปัจจัยที่มีผลต่อขวัญในการทำงานของบุคลากรทางการแพทย์ใน โรงพยาบาลชุมชนจังหวัดอุตรดิตถ์.
วิทยานิพนธ์ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต, สาขาการวิจัยและพัฒนาท้องถิ่น, บัณฑิตวิทยาลัย, มหาวิทยาลัยราชภัฏอุตรดิตถ์.

ฉัตรา โพธิ์พุ่ม. (2557). ปัจจัยที่ส่งผลต่อการบริหารงานของโรงพยาบาลบ้านแพ้ว (องค์การมหาชน).วิชาการสมาคมสถาบัน อุดมศึกษาเอกชนแห่งประเทศไทย (สสอท), 20(2), 112-123.

เฉลิมพล ศรีหงษ์. (2543). ระเบียบวิธีวิจัย. ม.ป.ท.

ถาวรศักดิ์ เทพชาตรี. (2550). อิทธิพลของปัจจัยภูมิหลัง ภาวะผู้นำ ขวัญกำลังใจและการรับรู้วัฒนธรรมท้องถิ่นและวัฒนธรรมองค์กร
ที่มีต่อผลการปฏิบัติงานของเจ้าหน้าที่ตำรวจใน เขตพื้นที่ 3 จังหวัดชายแดนภาคใต้. ปริญญาการปรัชญาดุษฎีบัณฑิต, สาขาวิชา การบริหารการพัฒนา, บัณฑิตวิทยาลัย, มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา.

ทิพย์วัลย์ ศรีพรม. (2554). การวิเคราะห์ปัจจัยเชิงสาเหตุที่มีอิทธิพลต่อแรงจูงใจในการทำวิจัยของอาจารย์มหาวิทยาลัยราชภัฏในเขตภาคเหนือตอนบน. กาสะลองคำ, 5(2), 6-15.

ธงชัย สันติวงษ์. (2543). หลักการจัดการ. กรุงเทพฯ: ไทยวัฒนาพานิช.

ธนวิน ทองแพง. (2549). ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อประสิทธิผลของมหาวิทยาลัยบูรพา. ชลบุรี: มหาวิทยาลัยบูรพา.

บุศรา ภาคสุวรรณ. (2556). ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อประสิทธิผลองค์การในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ.กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยอิสเทิร์น
เอเชีย.

ประนมวัน เกษสัญชัย. (2555). ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อประสิทธิผลการปฏิบัติงานของพยาบาลวิชาชีพงานอุบัติเหตุและฉุกเฉิน
โรงพยาบาลชุมชนเขต 12 กระทรวงสาธารณสุข.วารสารสมาคมพยาบาลฯ สาขาภาคตะวันออกเฉียงเหนือ.30 (3) , 24-32.

พงษ์เสฐียร เหลืองอลงกต. (2559). ความคาดหวังและที่เป็นจริงต่อการดำเนินงานตามยุทธศาสตร์ขององค์การบริหารส่วน
ต.นายายอาม อ.นายายอาม จ.จันทบุรี. วารสารการศึกษาและพัฒนาสังคม,12(1),80-88.

มัฆวาฬ สุวรรณเรือง.(2536). ประสิทธิผลของการนำนโยบายป้องปรามทุจริตเลึอกตั้ง ของโครงการ ท.ม.ก.ไปปฏิบัติ: กรณีวิจัย
ปฏิบัติการเขตเลือกตั้ง ค.จังหวัดนครราชสีมา. กรุงเทพฯ: สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์.

รณกร สุวรรณกลาง. (2557).การพัฒนาโมเดลทีมมีประสิทธิผลจากองค์การที่ได้รับรางวัลคุณภาพแห่งชาติ. วิทยานิพนธ์
วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต, กรุงเทพฯ: สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์.

รุจิราพรรณ คงช่วย. (2555). รูปแบบความสัมพันธ์โครงสร้างเชิงเส้นปัจจัยเชิงสาเหตุที่มีอิทธิพลต่อประสิทธิผลการจัดการศึกษา
ระดับอุดมศึกษาของมหาวิทยาลัยราชภัฏเขตภูมิศาสตร์ภาคใต้. วิทยานิพนธ์ด้านการศึกษา, วิทยาเขตปัตตานี. คณะศึกษาศาสตร์,
มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์.

ลิขิต ธีรเวคิน.(2556). การปรับตัวของประเทศไทยในยุคโลกาภิวัตน์ เอเชียรุ่งโรจน์และประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน. วารสาร ราชบัณฑิตยสถาน,38(2), 23-59.

วชิระ เพ็งจันทร์. (2556). สารสาธารณสุข, กระทรวงสาธารณสุข, 11(1), 3-4.

วรางคณา กาญจนพาที. (2556). ภาวะผู้นำและภาวะผู้ตามที่มีอิทธิพลต่อประสิทธิผลองค์กร.วิทยานิพนธ์ปริญญาบริหารธุรกิจ
มหาบัณทิต, มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี.

ศศลักษณ์ สุขจิตต์. (2554). สภาพที่เป็นจริงและและสภาพที่คาดหวังของบุคลากรที่มีต่อการจัดการความรู้ในโรงพยาบาล
พระปกเกล้า. วารสารศูนย์การศึกษาแพทยศาสตร์คลินิก รพ.พระปกเกล้า, 28(1), 33-43.

โศภิดา คล้ายหนองสรวง. (2558).การบริหารแบบมีส่วนร่วมที่ส่งผลต่อประสิทธิผลของ สถานศึกษา. ชลบุรี: มหาวิทยาลัยบูรพา.

สมนึก การีเวท. (2558). รูปแบบความสัมพันธ์เชิงสาเหตุของปัจจัยที่ส่งผลต่อประสิทธิผลการจัดการศึกษาของโรงเรียนประถมศึกษาเอกชนในกรุงเทพมหานคร. วารสารวิชาการเครือข่ายบัณฑิตศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฏภาคเหนือ, 6(10), 119-136.

สถาบันรับรองคุณภาพสถานพยาบาล(องค์การมหาชน) [สรพ.]. (2558). มาตรฐานโรงพยาบาลและบริการสุขภาพฉบับเฉลิม พระเกียรติฉลองริราชสมบัติครบ 60 ปี. นนทบุรี: สถาบันพัฒนาและรับรองคุณภาพโรงพยาบาล.

สถาบันรับรองคุณภาพสถานพยาบาล(องค์การมหาชน) [สรพ.]. (2560).วารสาร HA : สถาบันพัฒนาและรับรองคุณภาพโรงพยาบาล.

สุกัญญา เพิ่มบุญ. (2553). ความคาดหวังและความเป็นจริงในการปฏิบัติงานกับผลการปฏิบัติงานของพยาบาลวิชาชีพในโรงพยาบาล
ศรีสะเกษ. นนทบุรี: มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.

สุนทร สุริยพงศกร. (2556). ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับผลลัพธ์ของการบริหารโรงพยาบาลชุมชน. เชียงใหม่: ปริญญาดุษฏีบัณทิต
สาขาวิชาบริหารศาสตร์, สำนักบริหารและพัฒนาวิชาการ, มหาวิทยาลัยแม่โจ้.

สุภัทรา มิ่งปรีชา. (2550). ความคาดหวังและความพึงพอใจของผู้ใช้บริการแผนกผู้ป่วยนอกต่อคุณภาพบริการของโรงพยาบาลแพร่.
รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต, สาขาการบริหารและพัฒนา, ประชาคมเมืองและชนบท, มหาวิทยาลัยราชภัฏอุตรดิตถ์.

สักรินทร์ ไกรษร. (2557). รูปแบบความสัมพันธ์โครงสร้างเชิงสาเหตุขององค์ประกอบการบริหารเชิงบูรณาการที่ส่งผลต่อการพัฒนา
คุณภาพโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลภาคตะวันออกเฉียงเหนือ. ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต, สาขาการบริหารการศึกษา, มหาวิทยาลัยภาคตะวันออกเฉียงเหนือ.

อธิปพัฒน์ เดชขุนทด. (2558). อิทธิพลของการจัดการในองค์การมีผลต่อประสิทธิผลในการปฏิบัติงานของบุคลากรโรงพยาบาล
บางปะอิน. มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล ธัญบุรี, 10(2), 89-100.

Daft. ( 1997). Leadership: Theory and practice. Forth Worth, TX: Dryden Press.

Hair, J. F., Black, W. C. Babin, B. J. and Anderson, R. E. (2010). Multivariate data analysis: A Global Perspective.
7th ed. New Jersey: Pearson Education Inc.

Hoy, W. K., &Miskel, C. G. (2001). Educational administration: Theory research and practice. New York: McGraw - Hill.

Hsu and Ryder. ( 2002). Model of structural equation, causal relationship between leadership, morale Personnel
effectiveness. 54-94.

Robbins, S. P. (1990). Organization theory: Structure, design and applications (3rd ed.). Englewood Cliffs,
NJ: Prentice-Hall.

Slocum, J. W. & Hellriegel, D. (2011). Principles of organizational behavior (13th ed.). Mason, OH: South-Western
Cengage Learning.

Steers, R. M. (1977).Organizational effectiveness: A behavioral view. Santa Monica, CA: Goodyear.

World Health Organization. (2007). “Everybody’s Business Strengthening Health Systems to Improve Health
Outcomes” WHO’s Framework for Action. Geneva: WHO.

Weakliem and Frenkel. (2006). Moral and Workplace Performance. Work and Occupations Augost, 33(3), 335-361.

Yukl, G. A. (1994). Leadership in organizations. Englewood Cliffs, New Jersey: Prentice - Hill.