บทบาทที่คาดหวังและบทบาทท่ีเป็นจริงของนักประชาสัมพันธ์ ในการส่งเสริมการแสดงความผิดชอบต่อสังคมขององค์กรธุรกิจในประเทศไทย

ผู้แต่ง

  • สุนิสา ประวิชัย คณะนิเทศศาสตร์ มหาวิทยาลัยกรุงเทพ

คำสำคัญ:

บทบาทที่คาดหวัง, บทบาทที่เป็นจริง, นักประชาสัมพันธ์, การแสดงความรับผิดชอบต่อสังคม (ซี เอสอาร์), องค์กรธุรกิจในประเทศไทย

บทคัดย่อ

        การวิจัยเรื่อง “บทบาทที่คาดหวังและบทบาทท่ีเป็นจริงของนักประชาสัมพันธ์ในการส่งเสริมการแสดง ความผิดชอบต่อสังคมขององค์กรธุรกิจในประเทศไทย” มีวัตถุประสงค์เพื่อเปรียบเทียบความแตกต่างระหว่าง บทบาทที่คาดหวังกับบทบาทที่เป็นอยู่จริงของนักประชาสัมพันธ์ในการส่งเสริม การแสดงความรับผิดชอบต่อสังคมขององค์กรโดยใช้ระเบียบวิธีวิจัยเชิงปริมาณเก็บข้อมูลด้วยแบบสอบถามจากผู้ดูแลรับผิดชอบงานด้านการแสดงความรับผิดชอบต่อสังคมในองค์กรธุรกิจที่มีการดำเนินงานด้านความรับผิดชอบต่อสังคมอย่างเป็นรูปธรรมตามรายช่ือบริษัทจดทะเบียนที่เป็นองค์กรต้นแบบการดาเนินธุรกิจอย่างยั่งยืนของตลาดหลักทรัพย์ แห่งประเทศไทย ปี 2561 จานวน 212 คน ผลวิจัยพบว่า องค์กรธุรกิจในประเทศไทยมีการดาเนินงานด้าน การแสดงความรับผิดชอบต่อสังคมในรูปแบบกิจกรรมที่แยกต่างหากจากกระบวนการดาเนินงานตามปกติ มากกว่ากิจกรรมที่แทรกอยู่ในกระบวนการดาเนินงานตามปกติ โดยพบว่าองค์กรท่ีมีการดาเนินธุรกิจต่าง ประเภทกัน มีเป้าหมายในการดาเนินงานด้านการแสดงความรับผิดชอบต่อสังคมต่างกัน และมีรูปแบบของ กิจกรรมการแสดงความรับผิดชอบต่อสังคมต่างกันมีความคาดหวังต่อบทบาทของนักประชาสัมพันธ์ในการ ส่งเสริมการแสดงความรับผิดชอบต่อสังคมไม่แตกต่างกัน และมีความเห็นต่อบทบาทที่เป็นอยู่จริงของนัก ประชาสัมพันธ์ในการส่งเสริมการแสดงความรับผิดชอบต่อสังคมไม่แตกต่างกันด้วย โดยมีระดับนัยสาคัญ ทางสถิติ .05 นอกจากนี้ยังพบว่า องค์กรธุรกิจประเมินระดับของบทบาทท่ีคาดหวังกับบาทที่เป็นอยู่จริงของ นักประชาสัมพันธ์แตกต่างกัน โดยประเมินบทบาทที่คาดหวังในระดับมากที่สุด แต่ประเมินบทบาทที่เป็นอยู่ จริงในระดับปานกลางเท่านั้น

References

โชษิตา ตันฉาย. (2550). สำรวจสถานการณ์ CSR ยุคเริมต้น...ธรุกิจไทยยังแค่ “บริจาค” หนังสือพิมพ์ประชาชาติธุรกิจ ฉบับวันที่ 31 พฤษภาคม 2550, 8.

ปนัดดา ตันตระกูล. (2551). ประสิทธิผลของการใช้แนวคิดความรับผิดชอบต่อสังคมขององค์กรในการสร้างภาพลักษณ์ของ บริษัท ไทยเบฟเวอรเรจ จากัด (มหาชน). วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต, สาขาวิชาการประชาสัมพันธ์ คณะนิเทศศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. 4.

ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย. (2561). Thailand Sustainability Investment (THSI). วันที่สืบค้น 3 พฤศจิกายน2561เข้าถึง ได้จาก https://www.setsustainability.com/download/h7nq61ydxmpetoz.

ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย. (2556). ตลาดหลักทรัพย์ฯ ส่งเสริม บจ.ไทย จัดทารายงานด้าน CSR ยกระดับการเปิดเผยข้อมูลเพื่อความยั่งยืน. วันที่สืบค้น 17 กรกฎาคม 2561 จาก http://www.set.or.th/set/newsdetails.do

พิสชา สมบูรณ์สิน. (2553). กระบวนการประชาสัมพันธ์กิจกรรมการแสดงความรับผิดชอบต่อสังคมของSCGที่ทีส่วนร่วมของสื่อมวลชน.วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต,สาขาวชิ าการประชาสัมพันธ์คณะนิเทศศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. 142.

สถาบันไทยพัฒน์, (2551). จาพวกของซีเอสอาร์. วันที่สืบค้น 19 ธันวาคม 2562 จาก http://thaicsr.blogspot.com/2008/01/blog-post_6965.html

สถาบันไทยพัฒน์. (2562). ไทยพัฒน์ ชี้แนวทางซีเอสอาร์ ปี 62 องค์กรต้องขับเคลื่อน “คุณค่าและผลกระทบ” วันที่สืบค้น 3 มกราคม 2563 จาก https://mgronline.com/greeninnovation/detail/9620000020103

สถาบันไทยพัฒน์. (2555). รายงาน 6 ทิศทาง CSR & Sustainability ปี 2555. วันที่สืบค้น 20 มิถุนายน 2561 จาก http://thaicsr.blogspot.com/2012/01/6 csrsustainability 2555.html

สถาบันธุรกิจเพื่อสังคม. (2562). ทิศทาง CSR ปี”62 มุ่งคุณค่า+ผลกระทบสู่ความยั่งยืน. วันที่สืบค้น 9 มิถุนายน 2562 จาก https://www.prachachat.net/csr-hr/news-296932

สถาบันธุรกิจเพื่อสังคม. (2560). Thailand Corporate SDG Index: Companies. วันที่สืบค้น 12 กันยายน 2561 จาก http://www.thaicsr.com/2017/03/thailand corporate sdg performance 124.html

สุเมธ กาญจนพันธุ์ (2551). กลยุทธ์การบริหารจัดการด้านความรับผิดชอบต่อสังคมขององค์กรธุรกิจ.วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต,สาขาวิชาการประชาสัมพันธ์คณะนิเทศศาสตร์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

อนันตชัย ยูรประถม. (2556). เคลื่อนทัพ CSR...อย่างไรให้ยั่งยืน. กรุงเทพฯ: ไทยภูมิ พลับลิชชิ่ง.

Burson Marsteller. (2010). Corporate Social Responsibility Branding Survey. Retrieved July 16, 2013, from http://www.slideshare.net/BMGlobalNews/csr branding survey 2010 final

Clark, C. E. (2000). Differences between public relations and corporate social responsibility:An analysis. Public Relations Review, 26(3), 363-380.

Invest Northern Ireland. (2019). Importance of PR in corporate social responsibility. Retrieved April 13, 2020, from https://www.nibusinessinfo.co.uk/content/importance-pr-corporate- social-responsibility

Grunig, L.A., Grunig, J. E., & Dozier, D. M. (2002). Excellent public relations and effective organizations: A study of communication management in three countries. Mahwah, NJ: Lawrence Erlbaum.

Grunig, J. E. & Hunt, T. (1984). Managing Public Relations. Florida: Holt, Rinehart and Winston, Inc.

Kim, S., & Reber, B. H. (2008). Public Relations’ Place in Corporate Social Responsibility: Practitioners Define Their Role. Public Relations Review, 34(4), 337 342. doi:10.1016/j.pubrev.2008.07.003

Lekanic, R. D. & Others. (2016). The Analysis of Public Relations Role in improving Corporate Social Responsibility. Journal of Engineering Management and Competitiveness (JEMC), 6(1), 54-61.

PR Academy. (2020). The Relationship Between PR and CSR. Retrieved, May 29, 2020, from https://www.prezly.com/academy/relationships/corporate-social-responsibility/ the-relationship-between-pr-and-csr.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2020-09-01