เซ็นเซอร์หนังไทยยังมีอะไรให้ศึกษา? สำรวจทิศทางการศึกษาเซ็นเซอร์ภาพยนตร์ไทยในมิติสังคมวัฒนธรรม
คำสำคัญ:
การเซ็นเซอร์, กลุ่มศาสนา, ภาพยนตร์ไทยบทคัดย่อ
บทความวิชาการชิ้นนี้เขียนข้ึนด้วยวัตถุประสงค์เพื่อสำรวจองค์ความรู้เรื่องการเซ็นเซอร์ภาพยนตร์ไทย ในภาพรวมโดยอาศัยแนวคิดนิยามการเซ็นเซอร์ด้วยกลไกการเซ็นเซอร์ทางกฎหมาย และกลไกประกอบการ เซ็นเซอร์เป็นเกณฑ์พิจารณา ผลการสำรวจพบว่างานศึกษาวิจัยส่วนใหญ่มุ่งให้ความสำคัญกับการพิจารณา กลไกการเซ็นเซอร์ทางกฎหมาย ถึงแม้ว่ามีงานศึกษาอีกกลุ่มที่มุ่งพิจารณากลไกประกอบการเซ็นเซอร์ท่ี ทำงานในระดับโครงสร้าง อุดมการณ์ หรือวิธีคิด ทว่ายังคงพิจารณาเพียงแค่ในกลุ่มผู้มีบทบาททางสังคม ท่ีเกี่ยวข้องกับรัฐอย่างชัดเจน และมีอิทธิพลต่อกลไกการเซ็นเซอร์ทางกฎหมาย ดังนั้น การพิจารณากลไก ประกอบการเซ็นเซอร์ที่มีอิทธิพลต่อบทบาทขับเคลื่อนการเซ็นเซอร์สื่อภาพยนตร์ของผู้คนกลุ่มต่างๆในสังคม ไทย โดยเฉพาะกลุ่มท่ีไม่ได้มีส่วนเก่ียวข้องกับรัฐโดยตรง ทว่ามีสถานะเป็นผู้มีส่วนได้ส่วนเสียกับการกำกับ ควบคุมดูแลสื่อภาพยนตร์ไทย ดังเช่น กลุ่มศาสนาผู้แสดงบทบาทประท้วงขับเคลื่อนการเซ็นเซอร์ภาพยนตร์ ในประเด็นต่างๆ อาจนำไปสู่การขยายขอบเขตงานศึกษาค้นคว้าการเซ็นเซอร์ภาพยนตร์ไทย และความเข้าใจ ต่อเหตุปัจจัยสำคัญประการหนึ่งซึ่งส่งผลกระทบต่อการสร้างสรรค์ และพัฒนาอุตสาหกรรมภาพยนตร์ไทย ในมิติสังคมวัฒนธรรม
References
กาญจนา แก้วเทพ. (2557). ศาสตร์แห่งสื่อและวัฒนธรรมศึกษา. (พิมพ์ครั้งที่ 3). กรุงเทพฯ: ภาพพิมพ์ [Kanjana Kaewthep. (2014). Science of Media and Cultural Studies. (3rd Edition). Bangkok: Phappimp]
กระทรวงวัฒนธรรม สำนักงานปลัดกระทรวงวัฒนธรรม. (2559). ยุทธศาสตร์การส่งเสริมอุตสาหกรรมภาพยนตร์และวีดิทัศน์ ระยะที่ 3 (พ.ศ. 2560-2564). กรุงเทพฯ: สำนักงานกิจการโรงพิมพ์องค์การสงเคราะห์ทหารผ่านศึกในพระบรมราชูปถัมภ์ [Ministry of Culture Office of the Permanent Secretary. (2016). The Strategy for Promoting the Film and Video Industry 3rd Phrase. Bangkok: The War Veterans Organization of Thailand Printing house]
ชาญชัย ประทีปวัฒนะวงศ์. (2551). ผลกระทบต่อของการเซ็นเซอร์ต่ออุตสาหกรรมภาพยนตร์ไทย. (วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต, จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย) [Chanchai Pratheepwattanawong. (2008). The Impact of Censorship on Thai Films Industry. (Thesis for Master of Arts, Chulalongkorn University)]
โดม สุขวงศ์. (2550). พระราชบัญญัติภาพยนตร์ 2473. วารสารหนัง : ไทย, 4(14), หน้า 233-243. [Dome Sukhwong. (2007). Film Acts, B.E. 2473. Journal Nhang : Thai, 4(14), PP. 233-243]
นัฏกร บุญมาเลิศ. (2552). พัฒนาการการแสดงสิทธิและเสียงของ”เครือข่ายคนดูหนัง”. (วิทยานิพนธ์ ปริญญามหาบัณฑิต, จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย) [Nuttakorn Boonmahlerd. (2008). Development of Rights and Voices of “Movie Audience Network”. (Thesis for Master of Arts, Chulalongkorn University)]
ภาสวรรณ กรกชมาศ. (2554). การเซ็นเซอร์ภาพยนตร์ไทยภายใต้พระราชบัญญัติภาพยนตร์และวีดีทัศน์ พ.ศ. 2551: ทัศนะจากผู้กำกับภาพยนตร์ไทยผู้ปกครองในเขตภาคเหนือตอนล่าง. วารสารวิทยาการ จัดการและสารสนเทศศาสตร์, 6(1), หน้า 41-50. [Bhassavarn Goragochamash. (2011). Thai Film Censorship in Film and Video Acts, B.E. 2551: The Views of directors and parents in the lower northern region. Journal of Business, Economics and Communications: BEC Journal, 6(1), PP.41-50.]
อิทธิพล วรานุศุภากุล. (2557). การกำกับดูแลสื่อภาพยนตร์ไทย. วารสารวิชาการนวัตกรรมสื่อสารสังคม, 2(2), หน้า 36-46. [Itthipol Waranusupakul. (2014). Film Regulation in Thailand. The Journal of Social Communication Innovation, 2(2), PP.36-46.]
Chia, J. M. T. (2016). Defending the Dharma: Buddhist activism in a global city-state. London : Routledge.
Jackson, P. A. (2004). “The Thai regime of images.” Sojourn: Journal of Social Issues in Southeast Asia, 19(2), PP.181-218.
O’Leary, C. (2016). “Introduction: censorship and creative freedom” in O’Leary C., Sánchez D.S., and Thompson M.. Global Insights on Theatre Censorship. New York: Routledge.
Springhall, J. (1998). Censoring Hollywood: Youth, moral panic and crime/gangster movies of the 1930s. The Journal of Popular Culture, 32(3), PP.135-154
เว็บไซต์
ข่าวไทยพีบีเอส. (2560). ปี 2560 หนังไทยยังน่าเป็นห่วง. วันที่สืบค้น 9 มีนาคม 2562, เข้าถึงได้จาก https://news.thaipbs.or.th/content/259196 [Thai PBS News. (2017). 2017 Thai movies are still worried about. Retrieved: March 9th, 2019, from https://news.thaipbs.or.th/content/259196.]
ไทยรัฐออนไลน์.(2557). มาเลย์อินโดฯแบนโนอาห์. วันที่สืบค้น 9 มีนาคม 2562 เข้าถึงได้จาก https://www.thairath.co.th/content/415179 [Thairat Online. (2014) Noah was banned in Malay-Indonesia. Retrieved: March 9th, 2019, from https://www.thairath.co.th/content/415179]
ไทยรัฐออนไลน์.(2560). บ้าหรือเปล่า! นายกฯ จะซื้อเรือดำน้ำ สืบ ลั่น! ผู้นำต้องมีวิสัยทัศน์เพื่อหนัง ไทย. วันที่สืบค้น 9 มีนาคม 2562 เข้าถึงได้จาก https://www.thairath.co.th/content/833921 [Thairat Online. (2017) Crazy or not? The prime minister will buy a submarine, Sueb asked the leader
must have the vision in Thai film enterprise. Retrieved: March 9th, 2019, from https://www.thairath.co.th/content/833921]
แป้งร่ำ และแสงอรุณ จำปาวัน, (2560). ถกหนังไทย ตอนที่ 4 “แสงสว่างปลายอุโมงค์ของหนังไทยอยู่ที่ใด” (ตอนจบ). วันที่สืบค้น 9 มีนาคม 2562 เข้าถึงได้จาก https://www.gqthailand.com/life/article/thai-film-industry-part [Paengrum and Saengahroon Jumpawan, interviewed. (2017). The Discussing on Thai Film episode 4th “Where is The Light at the end of the tunnel of Thai Film. Retrieved: March 9th, 2019, from https://www.gqthailand.com/life/article/thai-film-industry-part4]
Coleman, S. (2002). Morals Campaigner Mary Whitehouse. World Press Review, 49(2). Retrieved June 2, 2002 from http://www.worldpress.org/europe/0202whitehouse.htm
Daley, D. (1954). In The Frame Of Mind To Take Control: Politic Surrounding The Banning Of Apichatpong Weerasethakul’s Syndromes And A Century (Sang Sattawat, 2006). Retrieved March 9th, 2019 from http://artsonline.monash.edu.au/mai/files/2012/07/diannedaley.pdf
Gallagher, Mark (May 7, 2015). Monty Python’s Life of Brian, British Local Censorship, and the “Pythonesque” Post by Kate Egan, Aberystwyth University, UK. Retrieved March 9th, 2019 from http://blog.commarts.wisc.edu/2015/05/07/monty-pythons-life-of-brian-british-local-censorship-and-the-pythonesque/