ถอดรหัสกล่องดำผู้บริโภค: มุมมองเชิงเปรียบเทียบกระบวนการแปลผลข้อมูล ELM, SHM และ SJT

ผู้แต่ง

  • วรทัย ราวินิจ วิทยาลัยนิเทศศาสตร์ มหาวิทยาลัยรังสิต

คำสำคัญ:

ผู้บริโภค, ผู้รับสาร

บทคัดย่อ

        การทำความเข้าใจผู้บริโภคในฐานะผู้รับสารมีการศึกษามาอย่างยาวนานจนเกิดเป็นแนวคิด ทฤษฎีมากมายเพื่ออธิบายพฤติกรรมการตอบสนองต่อสิ่งเร้าต่างๆที่เปิดรับเข้ามา แต่หากต้องการเข้าใจไปถึงกระบวนการประมวลผลข้อมูลข่าวสารอันเป็นกลไกทีอยู่ภายในสมองของบุคคลแล้ว อาจต้องอาศัยการอธิบายด้วยกลุ่มทฤษฎีที่เรียกว่า Information Processing Theory Approach ซึ่งมีพื้นฐานมากจากศาสตร์ทางด้านจิตวิทยา บทความชิ้นได้รวบรวมและเปรียบเทียบ 3 ทฤษฎีในกลุ่มดังกล่าวประกอบด้วย ELM, SHM และ SJT เพื่อทำความเข้าใจผู้บริโภคในฐานะผู้รับสารอย่างลึกซึ้งและสามารถใช้เป็นแนวทางในการออกแบบพัฒนาเนื้อหาสารทั้งในเชิงพาณิชย์และในเชิงพัฒนาสังคมด้านต่างๆให้มีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น

References

จุฑารัตน์ เอื้ออำนวย. (2553). จิตวิทยาสังคม. กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. [Chutharat EarumNoey. (2010). Social Psychology. Bangkok: Chulalongkorn University Press.]

ธีระพร อุวรรณโณ. (2535). เจตคติ: การศึกษาตามแนวทฤษฎีหลัก. กรุงเทพฯ: ภาควิชาจิตวิทยา คณะครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. [Theeraporn Auwanno. (1992). Attitude: A Study in the Main Theory. Bangkok: Department of Psychology Chulalongkorn University.]

พีระ จิรโสภณ. (2557). ประมวลสาระชุดวิชาปรัชญานิเทศศาสตร์และทฤษฎีการสื่อสาร หน่วยที่ 8-15. นนทบุรี : มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. [Peera Jirasopon. (2014). Philosophy of Communication Arts and Theory of Communication Unit 8 – 15. Nonthaburi: Sukhothai Thammathirat Open University.]

อรวรรณ ปิลันธน์โอวาท. (2554). การสื่อสารเพื่อการโน้มน้าวใจ. พิมพ์ครั้งที่ 3. กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. [Orawan Pilun-Owad. (2011). Communication for Persuasion. 3rd ed. Bangkok: Chulalongkorn University Press.]

Cacioppo, J. T., Petty, R. E., & Morris, K. (1983). Effects of need for cognition on message evaluation, recall, and persuasion. Journal of Personality and Social Psychology, 45, 805-818.

Chaiken, S. (1980). Heuristic versus systematic information processing and the use of source versus message cues in persuasion. Journal of Personality and Social Psychology, 39, 752-756.

Chaiken, S. and Eagly H. Alice. (1993). The Psychology of Attitudes. Fort Worth : Harcourt Brace College.

Chaiken, S. and Trope Y. (1999). Dual-Process Theories in Social Psychology. New York : Guilford Press.

Dillard P. James and Pfau M. (2002). The Persuasion Handbook : Developments in Theory and Practice. 1st ed. Thousand Oaks, California : Sage.

Griffin Em. (2009). A First Look at Communication Theory. 7th ed. Boston : McGraw Hill.

Mario R. Gregory, Haddock Geoffrey and Verplanken Bas. (2015). The Psychology of Attitudes and Attitude Change. 3rded. New Delhi: SAGE Publications.

O’ Keefe J. Danial. (2010). Persuasion: Theory and Research. Michigan: SAGE Publications.

Petty E. Richard and Cacioppo T. John. (1984). Attitudes and Persuasion : Classic and Contemporary Approaches. Dubuque, Iowa : Wm. C. Brown.

Petty E. Richard and Cacioppo T. John. (1986). Communication and Persuasion : Central and Peripheral Routes to Attitude Change. New York : Springer-Verlag.

Sherif M. (1961). Social Judgement : Assimilation and Contrast Effects in Communication and Attitude Change. New Haven : Yale University Press.

Sherif M. (1967). Attitude, Ego-Involvement, and Change. New York : J. Wuley.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2019-01-01