การวิจัย และสร้างสรรค์กระบวนการสื่อสารสุขภาพในผู้ป่วยเบาหวานชนิดที่ 2

ผู้แต่ง

  • ลลิตา ต่อไพบูลย์ วิทยาลัยนิเทศศาสตร์ มหาวิทยาลัยรังสิต

คำสำคัญ:

กระบวนการสื่อสาร, การสื่อสารสุขภาพ, ผู้ป่วยเบาหวานชนิดที่ 2

บทคัดย่อ

        การศึกษาวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อวิจัย และสร้างสรรค์กระบวนการสื่อสารสุขภาพในผู้ป่วยเบาหวานชนิดที่ 2 ที่สามารถมีอาการดีขึ้นได้จากการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม โดยใช้วิธีการวิจัยแบบผสมผสาน ทั้งการวิจัยเชิงปริมาณ และคุณภาพ การดำเนินการแบ่งการดำเนินการออกเป็น 3 ขั้นตอนคือ การวางแผนและออกแบบ การปฏิบัติงาน และการประเมินผล กลุ่มตัวอย่างคือ ผู้ป่วยเบาหวานชนิดที่ 2 จำนวน 38 คน ผลการวิจัยพบว่า ขั้นตอนการวางแผน และออกแบบควรเริ่มจากการให้ความรู้ผู้ป่วยอย่างมีประสิทธิภาพ เพื่อให้นำความรู้ไปดูแลตนเอง ผู้วิจัยออกแบบการจัดอบรม 2 ครั้ง โดยบุคลากรทางการแพทย์ 2 คน เนื้อหาเกี่ยวกับการไหลเวียนเลือด ภาวะแทรกซ้อนโรคเบาหวาน และอาหารแลกเปลี่ยน จัดเป็น 5 กิจกรรม ในเวลา 1 ชั่วโมง ทั้งนี้กลุ่มตัวอย่างให้    ความสนใจดี มีความกระตือรือร้น สนทนาโต้ตอบกับวิทยากร เกิดการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ และความพึงพอใจบรรยากาศการอบรม เนื้อหา และสื่อประกอบการบรรยาย ผลการประเมินความพึงพอใจทั้ง 5 กิจกรรมอยู่ในระดับสูงที่ค่าเฉลี่ย 4.48

References

กรรณิกา ปัญญาวงค์ และพนัส พฤกษ์สุนันท์. (2555). เอกสารประกอบการเรียน SE4001 วิชาการดูแลสุขภาพแบบองค์รวม Holistic Health Care. สมุทรสงคราม : สถาบันการเรียนรู้เพื่อปวงชน. [Kannika Panyawong and Panus Prueksunan. (2012). Learning literature SE4001 Holistic Health Care Subject. Samut Songkhram : Learning Institute For Everyone.]

ชัชลิต รัตรสาร. (ม.ป.ป.). สถานการณ์ปัจจุบัน และความร่วมมือเพื่อปฏิรูปการดูแลรักษาโรคเบาหวานในประเทศไทย. กรุงเทพ : โนโว นอร์ดิสค์ ฟาร์มา (ประเทศไทย). [Chatchalit Rattarasarn. (n.d.). Current Situation and Cooperation for Treatment Diabetes Mellitus Reform in Thailand. Bangkok: Novo Nordisk Pharma Thailand.]

ชิษณุ พันธุ์เจริญ และจรุงจิตร์ งามไพบูลย์. (2552). คู่มือทักษะการสื่อสารสำหรับพยาบาล และบุคลากรทางการแพทย์. กรุงเทพฯ: ธนาเพรส. [Chitsanu Pancharoen and Jarungchit Ngamphaiboon. (2009). Handbook of Communication Skills for Nurses and Medical Professionals. Bangkok: Thana Press.]

ลักษณา คล้ายแก้ว. (2556). กระบวนการสื่อสารสุขภาพ และประสิทธิผลโครงการล้างพิษตับ และนิ่วในถุงน้ำดี : กรณีศึกษาโครงการของกลุ่มสันติอโศก. ปทุมธานี: มหาวิทยาลัยรังสิต. [Lucksana Klaikao. (2013). Health Communication Process and Effectiveness of Liver and Gallstone Detoxification Project: Case Study of SantiAsoke Group’s Projects. Pathum Thani: Rangsit University.]

วาสนา จันทร์สว่าง. (2550). การสื่อสารสุขภาพ : กลยุทธ์ในงานสุขศึกษา และการสร้างเสริมสุขภาพ. (พิมพ์ครั้งที่ 2). กรุงเทพฯ: เจริญดีมั่นคงการพิมพ์. [Watsana Chansawang. (2007). Health Communication : Strategies in Health Education and Health Promotion. (2nd Edition). Bangkok: Charoen Mankhong Publisher.]

เว็บไซต์

ชลการ ทรงศรี. (2550). การพัฒนารูปแบบการให้ความรู้เพื่อการดูแลตนเองของผู้ป่วยโรคเบาหวาน ชนิดที่ 2 โรงพยาบาลทุ่งฝน จังหวัด อุดรธานี. (Master’s thesis). สืบค้นจาก http://tdc.thailis.or.th [Chonlakarn Songsri. (2007). Development of Health Education Model for Self-care of Diabetic Patients Type 2, Thungfon Hospital, Udon Thani Province. (Master’s thesis). Retrieved from http://tdc.thailis.or.th]

ไทยรัฐออนไลน์. (2558, 12 ตุลาคม). ทรรศนะเก่าสุขภาพ คว่ำองค์กรตระกูล ส.. สืบค้นเมื่อวันที่ 3 พฤศจิกายน 2559, จาก https://www.thairath.co.th [Thairath Online. (2015, 12 October). Original Health View Unmake Health Organization. Retrieved 3 November 2016, From https://www.thairath.co.th]

พจนารถ เวชชสัสถ์. (2552). การศึกษาเปรียบเทียบความรู้ และพฤติกรรมการบริโภคอาหารของผู้ป่วยโรคเบาหวาน กรณีศึกษาโรงพยาบาลธรรมศาสตร์เฉลิมพระเกียรติ จังหวัดปทุมธานี. (Master’s thesis). สืบค้นจาก http://tdc.thailis.or.th [Podjanart Wechasut. (2009). Comparative Study on Knowledge and Food Consumption Behavior of Diabetes Mellitus Patients: A Case Study at Thammasat Hospital, Pathum Thani Province. (Master’s thesis). Retrieved from http://tdc.thailis.or.th]

วรรณรัตน์ รัตนวรางค์ และณปิติยา บรรจงจิตร์. (2552). สื่อสารอย่างไรคนไข้เข้าใจไม่มีปัญหา. (บทความ). สืบค้นจาก http://ejournals.swu.ac.th [Wannarat Rattanawarang and Napitiya BanChongChit. (2009). How to Communicate to Patients without Problems. (Review Article). Retrieved from http://ejournals.swu.ac.th]

วารุณี ศรีตะวัน. (2555). ผลการให้ความรู้เรื่องการรับประทานอาหารโดยใช้หลักอาหารแลกเปลี่ยน สำหรับผู้ป่วยโรคเบาหวานชนิดที่ 2. (Master’s thesis). สืบค้นจาก http://tdc.thailis.or.th [Warunee Sritawan. (2012). Effects of Dietary Selection Education Based on Food Exchange for Patients with Diabetic type 2. (Master’s thesis). Retrieved from http://tdc.thailis.or.th]

สถาบันส่งเสริมสุขภาพไทย และสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข. (2541). ปฏิรูปแนวคิดคนไทย: สุขภาพมิใช่โรงพยาบาล. กรุงเทพฯ: สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข. [Thailand Health Promotion Institute and Health Systems Research Institute. (1998). The Reform of the Thai People’s Concept: Health Not the Hospital. Bangkok: Health Systems Research Institute.]

สมควร ชำนิงาน. (2552). โปรแกรมการให้ความรู้ในเรื่องการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการดูแลตนเอง เพื่อป้องกันโรคเบาหวานของประชากรกลุ่มเสี่ยงสูง ตำบลบ้านโคก อำเภอโคกโพธิ์ไชย จังหวัดขอนแก่น. สืบค้นจาก http://tdc.thailis.or.th [Somkuan Chumningan. (2009). The Health Education Program for Diabetes Mellitus Prevention Among High Risk Population In Ban-Koke Sub-District, Koke-Po-Chai District, Khonkaen Province. Retrieved from http://tdc.thailis.or.th ]

International Diabetes Federation. (2015). Key messages of IDF diabetes atlast – 7th edition. สืบค้นจาก http://www.diabetesatlas.org/ [International Diabetes Federation. (2015). Key messages of IDF diabetes atlast – 7th edition. Retrieved from http://www.diabetesatlas.org/]

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2019-01-01