สติกเกอร์ท้ายรถ: วรรณกรรมของกลุ่มคนรถและกลุ่มเด็กแว้นกับการต่อสู้ทางสังคม
คำสำคัญ:
สติกเกอร์ท้ายรถ, วาทกรรม, การต่อสู้ทางสังคม, กลุ่มคนรถและกลุ่มเด็กแว้นบทคัดย่อ
บทความนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อวิเคราะห์รูปแบบสติกเกอร์ท้ายรถ ซึ่งประกอบด้วย เนื้อหา (Message) สีสัน (Color) ภาพประกอบ (Illustrator) และการใช้ภาษา (Language) ด้วยทฤษฎีการวิเคราะห์เนื้อหา (Content Analysis) เพื่อแสดงให้เห็นถึง รูปแบบสติกเกอร์ท้ายรถที่เปลี่ยนแปลงไปจากอดีต และเพื่อวิเคราะห์วาทกรรมที่ปรากฏในสติกเกอร์ท้ายรถ ด้วยทฤษฎีวาทกรรมเชิงวิพากษ์ (Critical Discourse Analysis) ร่วมกับทฤษฎีภาพตัวแทน (Representation) เพื่อแสดงให้เห็นถึง การประกอบสร้างภาพตัวแทน ผ่านวาทกรรมของกลุ่มคนขับรถรับจ้างและกลุ่มเด็กแว้น ว่ามีการแสดงออกทางตัวตนในลักษณะใด ผ่านวาทกรรมใด รวมถึงประยุกต์ใช้ทฤษฎีปฏิบัติการในชีวิตประจำวัน (Practice of Everyday Life) เพื่ออธิบายว่า วาทกรรมที่ก่อให้เกิดภาพตัวแทนเหล่านั้นถูกนำมาใช้เป็นเครื่องมือในการต่อสู้ต่อรองอัตลักษณ์ตัวตนของกลุ่มผู้ใช้สติกเกอร์ท้ายรถอย่างไร
References
กนกพร กันทา. (2554). ความตาย ความเสี่ยง และผลกระทบต่อการตัดสินใจแข่งรถจักรยานยนต์บนถนนหลวงของเด็กและเยาวชน: การถอดบทเรียนจากโครงการถนนปลอดภัยจากรถซิ่ง ปี พ.ศ. 2547. วารสารพฤติกรรมศาสตร์เพื่อการพัฒนา. 1: 56.
กาญจนา แก้วเทพ และสมสุข หินวิมาน. (2553). สายธารแห่งนักคิดทฤษฎีเศรษฐศาสตร์การเมืองกับการสื่อสารศึกษา. กรุงเทพฯ: ห้างหุ้นส่วนจำกัด ภาพพิมพ์.
คนึงนิจ พรมนัส. (2560). ปฏิบัติการในชีวิตประจำวันของคนเข็นรถรับจ้างตลาดโรงเกลือ ชายแดนไทย-กัมพูชา. (วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต). มหาวิทยาลัยขอนแก่น, คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์, สาขาลุ่มน้ำโขงศึกษา.
จันทิมา อังคพณิชกิจ. (2561). การวิเคราะห์ข้อความ (Discourse Analysis). กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.
จารุณี สุวรรณรัศมี. (2547). กราฟฟิติ (graffiti): การสื่อสารความหมายและอัตลักษณ์. (วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต). มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, คณะวารสารศาสตร์และสื่อสารมวลชน, สาขาวิชาสื่อสารมวลชน
เจตยา วรปัญญาสกุล. (2538). การศึกษาความหมายและบทบาทความสามารถของสื่อแผ่นติดขนาดเล็กประเภทถ้อยคำสำนวน. (วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต). จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, คณะนิเทศศาสตร์, สาขาการสื่อสารมวลชน.
ทวีศักดิ์ ปิ่นทอง. (2523). วรรณกรรมเก็บตก. กรุงเทพฯ: โอเดียนสโตร์.
นิรินทร์ เภตราไชยอนันต์. (2550). ภาพตัวแทนผีผู้หญิงในละครโทรทัศน์. (วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต). มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, คณะวารสารศาสตร์และสื่อสารมวลชน, สาขาสื่อสารมวลชน.
ราชบัณฑิตยสถาน. (2550). พจนานุกรมคำใหม่ เล่ม 1 ฉบับราชบัณฑิตยสถาน. กรุงเทพฯ: แม็ค.
วณัฐย์ พุฒนาค. (2561). ‘เป็นทั้งผู้กระทำและถูกกระทำ’ เด็กแว้นในฐานะวัฒนธรรมวัยรุ่น. สืบค้นเมื่อ 15 ตุลาคม 2562, จาก https://thematter.co/social/steet-racing-as-culture/49808
ศิริมิตร ประพันธ์ธุรกิจ. (2551). ความสัมพันธ์ไทย-ลาวในสื่อบันเทิงไทย: ศึกษากรณีการประกอบสร้างอัตลักษณ์ความเป็นลาวจากภาพยนตร์เรื่อง “หมากเตะโลกตะลึง”. (วิทยานิพนธ์ปริญญาดุษฎีบัณฑิต). มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, คณะรัฐศาสตร์.
สถาบันภาษาไทย กรมวิชาการ. (2544). ภาษาไทยวันนี้เล่ม 6. กรุงเทพฯ: คุรุสภาลาดพร้าว.
สมสุข หินวิมาน. (2548). ปรัชญานิเทศศาสตร์และทฤษฎีการสื่อสาร. นนทบุรี: สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.
สรัช สินธุประมา. (2561). สุนทรียะตลาดล่าง พื้นที่และมูลค่ากราฟิกรถซิ่ง. สืบค้นเมื่อ 15 ตุลาคม 2562, จาก https://waymagazine.org/creative-thinking-in-sticker/.
สรัช สินธุประมา. (2561). ฟอนต์ลูกทุ่ง: เทคโนโลยีดิจิทัลกับการก่อร่างตัวตนของคนทำป้าย. (วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต). มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, คณะสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา, สาขาวิชามานุษยวิทยา.
สุรศักดิ์ บุญรอด. (2557). ปฏิบัติการในชีวิตประจำวันของผู้ค้าเสื้อผ้ามือสองในตลาดนัดเกาะหมี. (วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต). มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์, คณะศิลปะศาสตร์, สาขาวิชาพัฒนามนุษย์และสังคม.
หนึ่งฤทัย ชวนะลิขิกร. (2556). กลวิธีทางภาษาที่สร้างอารมณ์ขันในข้อความท้ายรถ. (วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต). มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ, คณะมนุษยศาสตร์, สาขาวิชาภาษาไทย.
Hall, S. (2003). Representation: cultural representations and signifying practices. London: Bath Press Colourbooks.
Hall, S. (Ed). (1997). Representation: cultural representations and signifying practices. London: Sage in association with the Open University.
Downloads
เผยแพร่แล้ว
How to Cite
ฉบับ
บท
License
บทความทุกบทความที่ได้รับการตีพิมพ์ถือเป็นลิขสิทธิ์ของวารสารวิชาการนวัตกรรมสื่อสารสังคม มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ