กลยุทธ์การสื่อสารสุขภาพ และความพึงพอใจในการใช้ชุมชนออนไลน์ด้านสุขภาพ
คำสำคัญ:
ชุมชนออนไลน์, สุขภาพ, การรู้เท่าทัน, สารสนเทศ, อิเล็กทรอนิกส์บทคัดย่อ
การศึกษากลยุทธ์การสื่อสารสุขภาพ และความพึงพอใจในการใช้ชุมชนออนไลน์ด้านสุขภาพ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษารูปแบบของชุมชนออนไลน์ด้านสุขภาพบนแพลตฟอร์มที่หลากหลาย ศึกษาถึงกลยุทธ์ของผู้สร้างเนื้อหา (Content Provider) ที่นำเสนอสารสนเทศบนชุมชนออนไลน์ด้านสุขภาพบนแพลตฟอร์มที่หลากหลาย และศึกษาถึงแรงจูงใจและความพึงพอใจในการใช้ชุมชนออนไลน์ด้านสุขภาพบนแพลตฟอร์มที่หลากหลาย การศึกษาในรูปแบบการวิจัยเชิงผสมผสาน (Mixed Method) โดยใช้วิธีการสุ่มตัวอย่างแบบเจาะจง (Purposive Sampling) จากชุมชนออนไลน์ ผลการศึกษา พบว่า รูปแบบของชุมชนออนไลน์ด้านสุขภาพบนแพลตฟอร์มของหน่วยงานรัฐบาล ผู้ทรงอิทธิพลทางความคิด และผู้มีความเชี่ยวชาญ อาศัยปัจจัยแบบจำลอง Honeycomb Social Media Framework ในการนำเสนอเนื้อหาที่มีลักษณะคล้ายคลึงกัน ซึ่งกลยุทธ์ของผู้สร้างเนื้อหา (Content Provider) ที่นำเสนอสารสนเทศบนชุมชนออนไลน์ด้านสุขภาพบนแพลตฟอร์มที่หลากหลาย มีปัจจัยการสื่อสารออนไลน์ตามแบบจำลอง OCPAT Framework ที่คล้ายคลึงกัน โดยนำเสนอเนื้อหาที่แตกต่างกัน เพื่อขับเคลื่อนการรู้เท่าทันสารสนเทศอิเล็กทรอนิกส์ด้านสุขภาพ และแรงจูงใจและความพึงพอใจในการใช้ชุมชนออนไลน์ด้านสุขภาพบนแพลตฟอร์มจากเฟซบุ๊กแฟนเพจ เฟซบุ๊กกลุ่ม อินสตาแกรม และทวิตเตอร์ ขึ้นอยู่กับจุดเด่นของแต่ละแพลตฟอร์ม
References
เครือข่ายการสื่อสาร ภาพรวมจากงานวิจัย. กรุงเทพฯ: สำนักงานกองทุนสนับสนุน การวิจัย (สกว.).
กาญจนา แก้วเทพ, เธียรชัย อิศรเดช และ สุชาดา พงศ์กิตติวิบูลย์. (2549). ปฐมบทแห่งองค์
ความรู้เรื่องสื่อพื้นบ้านสื่อสารสุข, นนทบุรี: โครงการสื่อพื้นบ้านสื่อสารสุข.
เขมจิรา พุ่มกาหลง. (2553). ความพึงพอใจของผู้ป่วยนอกต่อคุณภาพการให้บริการของ
โรงพยาบาลปทุมธานี. (มหาบัณฑิต การค้นคว้าอิสระ), มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราช มงคลธัญบุรี, ปทุมธานี.
ณัฏฐา อุ่ยมานะชัย. (2556). ผู้ทรงอิทธิพลในโลกออนไลน์กับพลังการบอกต่อ. วารสารนัก
บริหาร, 33 (3), 47-51. สืบค้นจาก https://www.bu.ac.th/knowledgecenter/executive_journal/july_sep_13/pdf/aw07.pdf
วิภาวิน โมสูงเนิน. (2553). การสื่อสารสุขภาพของกระทรวงสาธารณสุขในกรณีการระบาด
ของโรคไข้หวัดใหญ่ 2009. (ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต (การสื่อสารประยุกต์) วิทยานิพนธ์ มหาบัณฑิต), สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์, กรุงเทพฯ. Retrieved from http://libdcms.nida.ac.th/thesis6/2553/b178842.pdf
สุกัญญา เตชะโชควิวัฒน์. (2544). ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์เกี่ยวกับพฤติกรรมการดูแลตนเอง
และคุณภาพ ชีวิต ตามแนวคิดการดูแลสุขภาพแบบองค์รวมของผู้ป่วยมะเร็ง. (วิทยา ศาสตรมหาบัณฑิต วิทยานิพนธ์), มหาวิทยาลัยมหิดล, กรุงเทพฯ. Retrieved from ttp://mulinet11.li.mahidol.ac.th/thesis/scan/4037507.pdf
สุกัญญา เตชะโชควิวัฒน์. (2544). ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์เกี่ยวกับพฤติกรรมการดูแลตนเอง
และคุณภาพ ชีวิต ตามแนวคิดการดูแลสุขภาพแบบองค์รวมของผู้ป่วยมะเร็ง. (วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต วิทยานิพนธ์), มหาวิทยาลัยมหิดล, กรุงเทพฯ. Retrieved from http://mulinet11.li.mahidol.ac.th/thesis/scan/4037507.pdf
Mook. (2018, 26 กันยายน 2561). มองอนาคต Influencer ยุคปัจจุบันในเสวนา “The Future
of Influencer Marketing. Retrieved from https://thumbsup.in.th/2018/09/the- future-of-influencer-marketing/
Demiris, G. (2006). The diffusion of virtual communities in health care: concepts and
challenges. Patient education and counseling, 62(2), 178-188.
Freberga, K., Grahamb, K., McGaugheyc, K., & Frebergc, L. A. (2011). Who are the social
media influencers? A study of public perceptions of personality. Public Relations Review, 37, 90-92.
Hanlon, A. (2017). British Airways: a case study in social media management. The
Business & Management Collection.
Leimeister, J. M., Sidiras, P., & Krcmar, H. (2004, January). Success factors of virtual
communities from the perspective of members and operators: An empirical study. In 37th Annual Hawaii International Conference on System Sciences, 2004. Proceedings of the (pp. 10-pp). IEEE.
Lin, N. (1999). Social networks and status attainment. Annual review of sociology, 25(1),
467-487.
Maedche, A., & Staab, S. (2000, August). Discovering conceptual relations from text. In
Ecai (Vol. 321, No. 325, p. 27).
Mijn Zorgnet. (2013). The needs and experiences of patients and professionals concerning the online community ‘Rheumatism and (having) children’on MijnZorgnet. nl: A feasibility study (Master's thesis).
Neal, L., Oakley, K., Lindgaard, G., Kaufman, D., Leimeister, J. M., & Selker, T. (2007).
Online health communities. Paper presented at the Human Factors in Computing Systems - Proceedings.
Ray, E. B., & Donohew, L. (Eds.). (1990). Communication and health: Systems and
applications. Psychology Press.
Selden, C. R., Zorn, M., Ratzan, S. C., & Parker, R. M. (2000). Health literacy. Current
bibliographies in medicine, 1, 2000.
Stellefson, M., Chaney, B., Barry, A. E., Chavarria, E., Tennant, B., Walsh-Childers, K., ... &
Zagora, J. (2013). Web 2.0 chronic disease self-management for older adults: a systematic review. Journal of medical Internet research, 15(2), e35.
Tatlow-Golden, M., & Parker, D. (2020). The Devil Is in the Detail: Challenging the UK
Government’s 2019 Impact Assessment of the Extent of Online Marketing of Unhealthy Foods to Children. International Journal of Environmental Research and Public Health, 17(19).
Van Der Vaart, R., Drossaert, C. H. C., de Heus, M., Taal, E., & van de Laar, M. A. F. J.
(2013). Measuring Actual eHealth Literacy Among Patients With Rheumatic Diseases: a Qualitative Analysis of Problems Encountered Using Health 1.0 and Health 2.0 Applications. J Med Internet Res, 15(2), e27. doi:10.2196/jmir.2428
Zhang, L., Chung, C., Hu, B. S., He, T., Guo, Y., Kim, A. J., ... & Ho, D. D. (2000). Genetic
characterization of rebounding HIV-1 after cessation of highly active antiretroviral therapy. The Journal of clinical investigation, 106(7), 839-845.
Downloads
เผยแพร่แล้ว
How to Cite
ฉบับ
บท
License
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
บทความทุกบทความที่ได้รับการตีพิมพ์ถือเป็นลิขสิทธิ์ของวารสารวิชาการนวัตกรรมสื่อสารสังคม มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ