ความรักระหว่างเธอ : บทวิเคราะห์วาทกรรมว่าด้วยความรักและความสัมพันธ์ของ ‘หญิงรักหญิง’

ผู้แต่ง

  • ณหทัย แสนมงคล คณะนิเทศศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
  • ชเนตตี ทินนาม คณะนิเทศศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

คำสำคัญ:

วาทกรรม, หญิงรักหญิง, สิทธิมนุษยชน, ความหลากหลายทางเพศ, อัตลักษณ์ทางเพศ

บทคัดย่อ

บทความวิจัยมีวัตถุประสงค์เพื่อวิเคราะห์วาทกรรมว่าด้วยความรักและความสัมพันธ์ทางเพศของผู้มีอัตลักษณ์ทางเพศของหญิงรักหญิง โดยอาศัยกรอบการวิเคราะห์ตามแนวทางประวัติศาสตร์แบบวงศาวิทยา ของมิเชล ฟูโกต์ ขอบเขตของการวิจัยเน้นไปที่ตัวบทสื่อไทย ที่เผยแพร่ระหว่างปี 2539-2563 ผลการศึกษาพบว่าวาทกรรมผ่านสื่ออันมีรากฐานจากค่านิยมปิตาธิปไตย บรรทัดฐานรักต่างเพศ ระบบเพศทวิลักษณ์ และความเกลียดชังคนรักเพศเดียวกัน ได้ร่วมกำหนดรูปแบบความรักและความสัมพันธ์ทางเพศของผู้มีอัตลักษณ์ทางเพศของหญิงรักหญิงในแง่ที่เป็นปฏิปักษ์ต่อสังคม จึงเป็นความรักต้องห้าม ที่ผิดปกติ ไม่เหมาะสม ฉาบฉวย และไม่มีวันสมหวัง กระทั่งการเติบโตของสิทธิมนุษยชน ประชาธิปไตย และปัจเจกนิยม ทำให้เกิดเครื่องมือเชิงวาทกรรมในการกำหนดนิยามใหม่แก่ความรักและความสัมพันธ์ทางเพศของหญิงรักหญิงในแง่ที่เป็นความรักโรแมนติกที่เป็นสิทธิตามธรรมชาติ ทว่าการผนวกตนเองเข้าเป็นส่วนหนึ่งของนิยามความรักโรแมนติกตามบรรทัดฐานรักต่างเพศก็ย้อนกลับมาบั่นทอนชีวิตคู่ของหญิงรักหญิง จนเกิดพลวัตของวาทกรรมอีกระลอกซึ่งได้รับอิทธิพลจากทฤษฎีเควียร์ ทำให้บุคคลตระหนักในภาวะเลื่อนไหลของตนเองที่หลุดพ้นจากรูปแบบความสัมพันธ์ทางเพศภายใต้นิยามความเป็นหญิงรักหญิงที่รัดกุม

Author Biography

ชเนตตี ทินนาม, คณะนิเทศศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

Lecturer of Mass Communication Department, Faculty of Communication Arts, Chulalongkorn University.

References

กันตพงศ์ เชี่ยวพิมลพร. (2564,). GMM เซนเซอร์ผู้หญิงจูบกันออก เพราะเหตุผล ‘ผิดต่อ ศีลธรรมอันดี’ สู่การตั้งคำถามต่อซีรีส์เรื่องว่าหญิงจูบหญิงไม่ดียังไง? พอเป็นฉากชายจูบชาย ตบ-จูบ ข่มขืน กลับฉายได้ปกติ. สืบค้นเมื่อ 28 พฤษภาคม 2564, จาก https://spectrumth.com/13499/.

จางหยิ่ง และ จันทร์สุดา ไชยประเสริฐ. (2566). วาทกรรมหญิงรักหญิงในละครโทรทัศน์เรื่อง รากแก้ว : อำนาจการกดทับของผู้หญิงด้วยกัน. ใน รายงานการประชุมหาดใหญ่วิชาการระดับชาติและนานาชาติ ครั้งที่ 14 (น. 440-451). สงขลา:มหาวิทยาลัยหาดใหญ่

จรีย์วรรณ จันทร์แดง ณรัตน์ สมสวัสดิ์ และสุขพาพร ผาณิต. (2545). ความรุนแรงต่อหญิงรักหญิง : ความผิดปกติของจิต หรือทางเลือกที่เสรีของคนรักเพศเดียวกัน. ใน เอกสารประกอบการประชุมประจำปีทางมานุษยวิทยา ระหว่างวันที่ 27-29 มีนาคม 2545. ศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร, กรุงเทพฯ: ศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร.

ปณต สิริจิตราภรณ์. (2566). ความรุนแรงบนฐานเพศสภาพในซีรีส์วาย. วารสารนิเทศศาสตรปริทัศน์. 27(3), 64-78.

ธงชัย วินิจจะกุล. (2557). อำนาจกับการขบถ. ใน จอร์จ ออร์เวลล์. (2557). หนึ่ง-เก้า-แปด-สี่ = 1984 (หน้า 401-430). กรุงเทพฯ: สมมติ.

ธนายุทธ ฐากูรอรรถยา. (2565). ทัศนคติด้านความหลากหลายและความเท่าเทียมทางเพศของผู้ผลิตและผู้รับชมสื่อซีรีส์วาย เรื่อง คินน์พอร์ช เดอะ ซีรีส์ (KinnPorsche The Series) (ปริญญานิพนธ์มหาบัณฑิต สาขานิเทศศาสตร์ คณะนิเทศศาสตร์). จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

นฤพนธ์ ด้วงวิเศษ. (2560). เพศในเขาวงกต: แนวคิดทฤษฎีเพศในวัฒนธรรมบริโภค. กรุงเทพฯ: ศูนย์ มานุษยวิทยาสินธร.

นัฐพงษ์ สัมมาวงศ์ และปรียาภรณ์ เจริญบุตร. (2565). The Danish Girl การศึกษาเรื่องการเปิดเผยอัตลักษณ์ทางเพศ. วารสารวิชาการนวัตกรรมการสื่อสารสังคม. 10(1), 153-167

ผกา สัตยธรรม. (2516). การเปรียบเทียบความสัมพันธ์ในครอบครัวที่ให้การอบรมเลี้ยงดู ของบุคคลที่รัก ร่วมเพศกับบุคคลปกติ. (วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต สาขาจิตวิทยา คณะครุศาสตร์). จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

สมโภชน์ สุขวัฒนา. (2516). การรักษาผู้ป่วยรักร่วมเพศ. วารสารจิตวิทยาคลินิก. 18(2), 119-136.

สุมาลี โตกทอง. (2549). การให้ความหมายและการต่อรองในชีวิตคู่ของหญิงรักหญิง (วิทยาพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต สาขาสตรีศึกษา วิทยาลัยสหวิทยาการ). มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.

สุไลพร ชลวิไล. (2555). รักสองเพศของผู้หญิง : ความปรารถนา ความสัมพันธ์ และอัตลักษณ์ (รายงานวิจัย). กรุงเทพฯ: ศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร.

สุไลพร ชลวิไล. (2562). เพศแห่งสยาม ประวัติศาสตร์ความหลากหลายทางเพศ. กรุงเทพฯ: สถาบันพิพิธภัณฑ์การเรียนรู้แห่งชาติ.

ทีมข่าวข่าวสด. (2555). แห่วิวาห์ฤกษ์สวยบูชาราหู12 12 12. ข่าวสด, สืบค้นเมื่อ 28 พฤษภาคม 2564, จาก https://www.iqnewscenter.com/.

ทีมข่าวคมชัดลึก. (2547). "เดียร์" แยกทาง "อลิศ" รับไม่ได้ ภาพ "เลสเบี้ยน". คมชัดลึก, สืบค้นเมื่อ 28 พฤษภาคม 2564, จาก https://www.iqnewscenter.com/.

ทีมข่าวเดลินิวส์. (2548). ผู้ชายไม่รักดี ! ‘เมี่ยง’ควงทอมแก้เหงา. เดลินิวส์, สืบค้นเมื่อ 28 พฤษภาคม 2564, จาก https://www.iqnewscenter.com/.

ทีมข่าวไทยพีบีเอส. (2563). โซเชียลเดือด หลัง ครม.ไฟเขียวร่าง "พ.ร.บ.คู่ชีวิต". ไทยพีบีเอส, สืบค้นเมื่อ 28 พฤษภาคม 2564, จาก https://news.thaipbs.or.th/content/294382.

ทีมข่าวไทยรัฐออนไลน์. (2555). เทรนด์ใหม่ 2012 หญิง+หญิง = ฉิ่งครองเมือง...!. ไทยรัฐออนไลน์, สืบค้นเมื่อ28 พฤษภาคม 2564, จาก https://www.iqnewscenter.com/.

ทีมข่าวบางกอกทูเดย์. (2553). คอลัมน์คนบันเทิงพันธุ์เสือ : สุมนรัตน์ วัฒนาเศลารัตน์ จับเสือมือเปล่า. บางกอกทูเดย์, สืบค้นเมื่อ 28 พฤษภาคม 2564, จาก https://www.iqnewscenter.com/.

ทีมข่าวบ้านเมืองออนไลน์. (2562). ฮือฮา! สาวหล่อกาฬสินธุ์หอบเงิน 3 แสน แต่งสาวอุดร. บ้านเมืองออนไลน์, สืบเมื่อ 28 พฤษภาคม 2564, จาก https://www.iqnewscenter.com/.

ทีมข่าวบ้านเมืองออนไลน์. (2563). ฮือฮา! สาวหล่อจัดเต็มสินสอด 10 หมื่น ทอง 10 บาท ยกขบวนขันหมากขอวิวาห์แฟนสาว. บ้านเมืองออนไลน์, สืบค้นเมื่อ 28 พฤษภาคม 2564, จาก https://www.iqnewscenter.com/.

ทีมข่าวผู้จัดการรายวัน 360 องศา. (2552, 19 สิงหาคม). หญิงคบหญิงเสียงฉิ่งเริ่มบรรเลง. ผู้จัดการรายวัน 360 องศา, สืบค้นเมื่อ 28 พฤษภาคม 2564, จาก https://www.iqnewscenter.com/.

ทีมข่าวเดลินิวส์. (2564). ดราม่าซีรีส์ดัง! ถูกตัดฉาก'หญิงจูบกัน'อ้างผิดศีลธรรม. เดลินิวส์, สืบค้นเมื่อ 28 พฤษภาคม 2564, จาก https://www.dailynews.co.th/entertainment/823166.

วิภาวดี. (2547). คอลัมน์บันเทิงฟรีสไตล์ : "ถึงลูกถึงมุม". เดลินิวส์, สืบค้นเมื่อ 28 พฤษภาคม 2564, จาก https://www.iqnewscenter.com/.

อาทิตยา อาษา. (2562). ครอบครัวเควียร์: พหุอัตลักษณ์ ความสัมพันธ์ และยุทธศาสตร์ ครอบครัวเลสเบี้ยนชนชั้นแรงงาน. (วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต สาขาสตรี เพศสถานะ และเพศวิถีศึกษา วิทยาลัยสหวิทยาการ). มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.

Dewey, C. (2015, June 30). More than 26 million people have changed their Facebook picture to a rainbow flag. Here’s why that matters. Washington Post. Retrieved Fabruary 20, 2021, from https://www.washingtonpost.com/news/theintersect/wp/2015/06/29/more-than-26-million-people-have-changed-theirfacebook-picture-to-a-rainbow-flag-heres-why-that-matters/

Butler, J. (1990). Gender Trouble. London: Routledge.

Butler, J. (1993). Bodies That Matter. London: Routledge.

Drescher, J. (2015). Out of DSM: Depathologizing Homosexuality. Behavioral Sciences, 5(4), 565-575.

Enteen, J. (2007). Lesbian Studies in Thailand. Lesbian Studies in Thailand. 11(3-4), 255-263.

Faderman, L. (1991). Odd Girls and Twilight Lovers: A History of Lesbian Life in Twentieth Century America. London: Penguin Books.

Foucault, M. (1972). The Archaeology of Knowledge and the Discourse on Language. New York, NY: Pantheon Books.

Foucault, M. (1977). Discipline and Punish: The Birth of the Prison. London: Vintage Books.

Foucault, M. (1978). The History of Sexuality Volume 1: An Introduction. NY: Pantheon.

Griffin, P., D'Errico, K. H., Harro, B., & Schiff, T. (2007). Heterosexism Curriculum Design. In M. Adams, L. A. Bell, & P. Griffin (Eds.), Teaching for diversity and social justice (pp. 195-218). London: Routledge.

Jackson, P. A. (2011). Queer Bangkok: 21st Century Markets, Media and Rights. Chiang Mai: Silkworm Books.

Jenkins, A. (2019). Power to the People: The Stonewall Revolution. QED: A Journal in GLBTQ Worldmaking. 6(2), 63–68.

Keats, T. (2016). Lesbophobia as a Barrier to Women in Coaching. Taboo: The Journal of Culture and Education. 15(1), 79-92.

Lavie, H. (2021). Being a Jewish lesbian in Berlin: Belonging and Solidarity During the Weimar Era and the Third Reich. In A. Kraß, M.

Sluhovsky, & Y. Yonay (Eds.). Queer Jewish lives between Central Europe and Mandatory Palestine. (pp. 77-96). Bielefeld: transcript Verlag.

NBC News. (2015, June 25). 'Love Is Love,' Obama Says After High Court Legalizes Same-Sex Marriage. Retrieved February 20, 2021, from https://www.nbcnews.com/news/nbcblk/love-love-obama-says-after-high-court-legalizes-same-sex-n382551

O'Hare, T., Williams, C.L. & Ezoviski, A. (1996). “A. Fear of AIDS and homophobia: implications for direct practice and advocacy”, Soc Work, 41(1), 51-8.

Sinnott, M. (2011). The Language of Rights, Deviance, and Pleasure: Organizational Responses to Discourses of Same-Sex Sexuality and Transgenderism in Thailand. In P. A. Jackson (Ed.), Queer Bangkok: 21st century markets, media, and rights (pp. 205-228). Chiang Mai: Silkworm Books.

Tamagne, F. (2006). A History of Homosexuality in Europe, Berlin, London, Paris 1919–1939. New York, NY: Algora. The Diana Foundation. (2024). History of The Diana Foundation. Retrieved September, 2024, from https://thedianafoundation.org/page/history-of-the-diana-foundation

Whisnant, C. J. (2016). Queer Identities and Politics in Germany: A History 1880–1945. NY: Harrington Park Press.

Warner, M. (1993). Fear of a Queer Planet: Queer Politics and Social Theory. Minneapolis: University of Minnesota.

Warner, M. (1998). The Trouble with Normal. New York, NY: Free Press.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2024-12-03

How to Cite

แสนมงคล ณ., & ทินนาม ช. (2024). ความรักระหว่างเธอ : บทวิเคราะห์วาทกรรมว่าด้วยความรักและความสัมพันธ์ของ ‘หญิงรักหญิง’. วารสารวิชาการนวัตกรรมสื่อสารสังคม, 12(2), 107–122. สืบค้น จาก https://so06.tci-thaijo.org/index.php/jcosci/article/view/274179