ประชาธิปไตยกับการมีส่วนร่วมทางการเมืองของประชาชน

Main Article Content

สิงห์คำ มณีจันสุข

บทคัดย่อ

ประชาธิปไตยกับการมีส่วนร่วมทางการเมืองของประชาชน เพื่อให้ได้รับทราบถึงความสำคัญของการมีส่วนร่วมทางการเมืองที่มีส่วนสำคัญอย่างยิ่งต่อการพัฒนาระบอบประชาธิปไตย รวมทั้งสิทธิและภาระหน้าที่ของประชาชนในการเข้ามามีส่วนร่วมทางการเมืองตามช่องทางและกระบวนการต่าง ๆ ตามที่กฎหมายรัฐธรรมนูญฉบับปัจจุบันกำหนดไว้ ซึ่งหากประชาชนมีความเข้าใจในกระบวนการมีส่วนร่วมทางการเมือง พร้อมทั้งตื่นตัวเข้ามามีส่วนร่วมทางการเมืองมากขึ้นก็จะส่งผลต่อการพัฒนาระบอบประชาธิปไตยของไทยให้ก้าวหน้าและยั่งยืน บทความวิชาการนี้มุ่งศึกษา ความหมายและแนวคิดเกี่ยวกับการมีส่วนร่วม การมีส่วนร่วมทางการเมือง รูปแบบการมีส่วนร่วมทางการเมือง และปัจจัยที่มีผลกระทบต่อการมีส่วนร่วมทางการเมือง

Article Details

บท
บทความวิชาการ

References

1. จรูญ สุภาพ. (2514). หลักรัฐศาสตร์. กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์ไทยวัฒนาพานิช.

2. จันทนา สุทธิจารี. (2544). การมีส่วนร่วมของประชาชนในการเมืองการปกครองไทยตามรัฐธรรมนูญฉบับประชาชน. กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์ วี.เจ พริ้นติ้ง.

3. จุฑามาศ ประยูรทอง. (2547). “การมีส่วนร่วมทางการเมืองของนักศึกษา : กรณีศึกษาเปรียบเทียบนักศึกษามหาวิทยาลัยรามคำแหงกับมหาวิทยาลัยอัชสัมชัญ (ABAC)”. วิทยานิพนธ์ศิลปะศาสตรมหาบัณฑิต. บัณฑิตวิทยาลัย: มหาวิทยาลัยรามคำแหง.

4. ชูวงศ์ ฉายะบุตร. (2539). การปกครองท้องถิ่น. กรุงเทพมหานคร: พิฆเณศพริ้นติ้ง.

5. ณรงค์ สินสวัสดิ์. (2539). จิตวิทยาการเมือง. กรุงเทพมหานคร: วัชรินทร์การพิมพ์.

6. ติน ปรัชญพฤทธิ์. (2546). การบริหารการพัฒนา : ความหมาย เนื้อหา แนวทาง และปัญหา. กรุงเทพมหานคร: สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

7. ทิพาพร พิมพิสุทธิ์. (2542). พัฒนาการเมือง. กรุงเทพมหานคร: สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยรามคำแหง.

8. นิรันดร์ จงวุฒิเวศน์. (2527). การมีส่วนร่วมของประชาชนในการพัฒนา. กรุงเทพมหานคร: ศักดิ์โสภณการพิมพ์.

9. พิสิทธิ์ศักดิ์ ห้วยหงษ์ทอง. (2551). “ปัจจัยที่ส่งผลต่อพฤติกรรมการมีส่วนร่วมทางการเมืองของนักศึกษาในจังหวัดนครปฐม”. วิทยานิพนธ์ปริญญาศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาพัฒนศึกษา. บัณฑิตวิทยาลัย: มหาวิทยาลัยศิลปากร.

10. ยุวัฒน์ วุฒิเมธี. (2541). “การเสริมสร้างความเข้มแข็งให้กับชุมชน”. วารสารพัฒนาชุมชน. 36 (4).

11. ศราวุธ ศรีแสงใส.(2544). “การมีส่วนร่วมทางการเมืองของข้าราชการครู : ศึกษาเฉพาะกรณีสำนักงานการประถมศึกษาอำเภอนิคมสร้อย จังหวัดมุกดาหาร”. วิทยานิพนธ์ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต. (บัณฑิตวิทยาลัย: มหาวิทยาลัยรามคำแหง).

12. สิริพัฒน์ ลาภจิตร.(2550) “ปัจจัยที่ส่งผลต่อการตัดสินใจมีส่วนร่วมของประชาชนในการสนับสนุนการบริหารงาน องค์การบริหารส่วนตำบล อำเภอวารินชำราบ จังหวัดอุบลราชธานี”.วิทยานิพนธ์ปริญญารัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชารัฐประศาสนศาสตร์. คณะรัฐศาสตร์: จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย).

13. Almond. Gabriel A. & Verba. Sydney. (1963) The civic culture Political attitude and democracy in five nation. Boston: Little Brown.

14. Easton David. (1971). The Political System : An Inquiry into the State of Political Science. New York: Knopf.

15. Kaufman. H. F. (1994). Partcipation in Organized Activites in Selected Dimtuckcy Localites. Kentucky: The Free Press.

16. Keith. D.D..(1972). Human Behavior at Work Human Relations Organizational Behavior. New York: McGraw-Hill Book.

17. Milbrath. L. W. and Goel. (1977). Political Participation: How and Why Do People Get Involved in Politics. 2d ed. Chicago: Rand McNally College Publishing Company.

18. Milbrath.Leser W.. (1971). Political participation. New York: University of Buffalo Press.

19. Reeder.(1974). Some Aspects of The Information Social Participation of Farm Families inNew York State. New York: Unpublished Ph.D. Dissertation. Cornell University.