การมีส่วนร่วมของภาคประชาชนต่อนโยบายสาธารณะ

Main Article Content

ศิลปวิชญ์ น้อยสมมิตร

บทคัดย่อ

บทความวิชาการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อนำเสนอ “การมีส่วนร่วมของภาคประชาชนต่อนโยบายสาธารณะ” ซึ่งเป็นการนำเสนอมุมมองที่ต้องการให้ภาคประชาชนมีโอกาสได้มีการเสนอความต้องการในฐานะพลเมืองของประเทศหรือผู้เสียภาษีให้กับประเทศย่อมจะมีสิทธิ และเสรีภาพในการร่วมกันเสนอความคิดเห็นเพื่อการวางแผน มีส่วนร่วมในการตัดสินใจ มีส่วนร่วมในการประเมินผล และการมีส่วนร่วมในการกำหนดนโยบายสาธารณะนั้น ๆ รวมถึงของโครงการต่าง ๆ อย่างเท่าเทียมกัน ซึ่งหลักการที่เห็นได้เด่นชัดมากที่สุดก็คือ การมีส่วนร่วมของภาคประชาชน การมีความสามารถ และการมีความพร้อมที่จะเข้าร่วมรับฟังปัญหาต่าง ๆ ทั้งสามอย่างนี้เป็นจุดชนวนหลักในการส่งเสริมภาคประชาชนในการออกความคิดเห็นต่อระบบการบริหารกิจการในนโยบายสาธารณะ ปรับปรุงภาระงานต่าง ๆ ให้ประสิทธิภาพและประสิทธิผลมากยิ่งขึ้นต่อไป

Article Details

บท
บทความวิชาการ

References

1. ชาญชัย ศิลปะอวยชัยและคณะ. (2542). ความต้องการมีส่วนร่วมจัดการศึกษาในท้องถิ่นของสมาชิกองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในจังหวัดแพร่. (รายงานวิจัย). บัณฑิตวิทยาลัย: มหาวิทยาลัยนเรศวร.

2. ติน ปรัชญพฤกษ์. (2533). ภาวะผู้นำและการมีส่วนร่วมพฤติกรรมในองค์การหน่วยที่ 2. นนทบุรี: มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.

3. ทวีทอง หงส์วิวัฒน์. (2527). การมีส่วนร่วมของประชาชนในการพัฒนา. กรุงเทพฯ: ศูนย์ศึกษานโยบายสาธารณสุข มหาวิทยาลัยมหิดล.

4. ทศพล กฤตยพิสิฐ. (2538). การมีส่วนร่วมของกำนันผู้ใหญ่บ้านเขตหนองจอกที่มีโครงการ/ กิจกรรมการพัฒนาตามแนวทาง บวร และบรม เพื่อสร้างอุดมการณ์แผ่นดินธรรมแผ่นดินทอง. (วิทยานิพนธ์รัฐศาสตรมหาบัณฑิต). บัณฑิตวิทยาลัย: มหาวิทยาลัย ธรรมศาสตร์.

5. นรนิติ เศรษฐบุตร. (มปป.). แนวคิดการมีส่วนร่วมทางการเมือง ในเอกสารประกอบการประชุม สัมมนาเพื่อรับฟังความคิดเห็นเกี่ยวกับการมีส่วนร่วมของประชาชนในการปกครองท้องถิ่น. (อัดสำเนา).

6. นิรันดร์ จงวุฒิเวศย์. (2533). นโยบายและกลวิธีการมีส่วนร่วมของชุมชน ในยุทธศาสตร์การพัฒนาปัจจุบัน. กรุงเทพฯ: ศักดิ์โสภาการพิมพ์.

7. ประเวศ วะสี. (2535). การพัฒนาพลังสร้างสรรค์ระดับองค์กร. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์หมอชาวบ้าน.

8. ปรัชญา เวสารัชช์. (2528). การมีส่วนร่วมของประชาชนในกิจกรรมเพื่อชนบท. (รายงานวิจัย). กรุงเทพฯ: สถาบันไทยคดีศึกษา มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.

9. ปาริชาต วลัยเสถียร. (2541). เอกสารประกอบการศึกษาวิชา สค.651 ทฤษฎีและหลักการพัฒนาชุมชน. กรุงเทพฯ: คณะสังคมสงเคราะห์ศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.

10. พัชรพล วงศ์จิต. (2544). การมีส่วนร่วมของประชาชนตามโครงการสมาชิกแจ้งข่าวอาชญากรรม ในเขตอำเภอสารภี จังหวัดเชียงใหม่. (สารนิพนธ์รัฐศาสตรมหาบัณฑิต). บัณฑิตวิทยาลัย: มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.

11. พิชัยยุทธ สิงห์สหาย. (2546). การมีส่วนร่วมของประชาชนต่อการดำเนินโครงการกองทุนหมู่บ้านและชุมชนเมือง: ศึกษาเฉพาะกรณีกิ่งอำเภอคลองเขื่อน จังหวัดฉะเชิงเทรา. (วิทยานิพนธ์ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชารัฐศาสตร์). บัณฑิตวิทยาลัย: มหาวิทยาลัยรามคำแหง.

12. มยุรี ถนอมสุข. (2554). การรับรู้ข่าวสารทางการเมืองกับการมีส่วนร่วมทางการเมืองของนิสิตภาควิชาพลศึกษาและกีฬา คณะศึกษาศาสตร์และพัฒนศาสตร์ มหาวิทยาลัย เกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกำแพงแสน. (รายงานการวิจัย). นครปฐม: มหาวิทยาลัย เกษตรศาสตร์.

13. ยุรัตน์ วุฒิเมธี. (2526). หลักการพัฒนาชุมชนและการพัฒนาชุมชน. กรุงเทพฯ: ไทยอนุเคราะห์ไทย.

14. วรรณธรรม กาญจนสุวรรณ. (2547). วัฒนธรรมทางการเมือง. ในเอกสารการสอนชุดวิชาสถาบันและกระบวนการทางการเมือง หน่วยที่ 6. (พิมพ์ครั้งที่ 4). นนทบุรี: มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.

15. วิโรจน์ รูปดี. (2547). การมีส่วนร่วมของประชาชนในการแยกประเภทขยะของเทศบาลเมืองเพชรบูรณ์. (สารนิพนธ์รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต). บัณฑิตวิทยาลัย: มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.

16. ศักรินทร์ สุวรรณโรจน์. (2541). นักบริหารกับเทคนิคการพัฒนา. กรุงเทพฯ: สำนักงานข้าราชการครู.

17. สนธยา พลศรี. (2533). ทฤษฎีและหลักการพัฒนาชุมชน. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์ โอ เอส พริ้นติ้งเฮ้าส์.

18. สมพร เพชรสงค์. (2541). กระบวนทัศน์ใหม่สู่ชุมชน. กรุงเทพมหานคร: สำนักงานข้าราชการครู.

19. สิทธิพันธ์ พุทธหุน. (2547). ทางเลือกของมวลประชา. (พิมพ์ครั้งที่ 3). กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยรามคำแหง.

20. เสือ อภิชาตเกรียงไกร. (2543). การมีส่วนร่วมของประชาชนในการจัดการทรัพยากรน้ำ กรณีพื้นที่ลุ่มน้ำลำตะคอง จังหวัดนครราชสีมา. (สารนิพนธ์ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการจัดการมนุษย์กับสิ่งแวดล้อม). บัณฑิตวิทยาลัย: มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.

21. อศิน รพีพัฒน์. (2527). การมีส่วนร่วมของชุมชนในการพัฒนาชนบทในสภาพสังคมและวัฒนธรรมไทย. กรุงเทพฯ: ศูนย์นโยบายสาธารณสุข มหาวิทยาลัยมหิดล.

22. อำพร สุคนรัตนสุข. (2544). การมีส่วนร่วมทางการเมืองของนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูงในจังหวัดขอนแก่น. (วิทยานิพนธ์ปริญญาศิลปศาสตรมหาบัณฑิต). บัณฑิตวิทยาลัย: มหาวิทยาลัยขอนแก่น.

23. Huntington, S. P. and G. Dominguez. (1975). Political Development. In Fred, G. and W. N.Polsby (EDS.). Handbook Political Science: Non Government Politic. R, Massachusette: Addison Wesley.

24. Mc Closky, H. (1968). Political Participation. In International Encyclopedia of the Social Science. New York: McMillan and Free Press.