หลักธรรมาภิบาลกับการบริหารจัดการภาครัฐแนวใหม่
Main Article Content
บทคัดย่อ
บทความวิชาการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาหลักธรรมาภิบาลกับการบริหารจัดการภาครัฐแนวใหม่ พบว่า หลักธรรมาภิบาลกับการบริหารจัดการภาครัฐแนวใหม่เป็นการกล่าวถึงการเปลี่ยนแปลงของระบบหลักธรรมาภิบาลตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน สู่การบริหารจัดการภาครัฐแนวใหม่ และการบริหารงานภาครัฐแนวใหม่ตามแผนยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบราชการไทย บทความวิชาการนี้มุ่งศึกษา การเปลี่ยนแปลงของหลักธรรมาภิบาล การบริหารจัดการภาครัฐแนวใหม่ 7 ประการ หลักใหญ่ของการจัดการภาครัฐแนวใหม่และแผนยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบราชการไทย
Article Details
1. เนื้อหาและข้อมูลในบทความที่ลงพิมพ์กับวารสารวิจยวิชาการ ถือเป็นข้อคิดเห็น และความรับผิดชอบของผู้เขียนบทความโดยตรงซึ่งกองบรรณาธิการวารสารไม่จำเป็นต้องเห็นด้วย หรือร่วมรับผิดชอบใด ๆ
2. บทความ ข้อมูล เนื้อหา รูปภาพ ฯลฯ ที่ได้รับการตีพิมพ์ในวารสารวิจยวิชาการ ถือเป็นลิขสิทธิ์ของวารสารวิจยวิชาการ หากบุคคลหรือหน่วยงานใดต้องการนำทั้งหมดหรือส่วนหนึ่ง ส่วนใดไปเผยแพร่ต่อหรือเพื่อการกระทำการใด ๆ จะต้องได้รับอนุญาตเป็นลายลักษณ์อักษรจากวารสารวิจยวิชาการก่อนเท่านั้น
References
2. ชาติชาย นรเศรษฐาภรณ์. (2545). ธรรมาภิบาลในความหมายของภาครัฐ เอกชนและประชาชน: กรณีโครงการโรงไฟฟ้าพลังความร้อนถ่านหิน “หินกรูด”. (วิทยานิพนธ์รัฐศาสตรดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชารัฐศาสตร์). บัณฑิตวิทยาลัย: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
3. พระราชญาณวิสิฐ (เสริมชัย ชยมงฺคโล). (2548). หลักธรรมาภิบาลและประมุขศิลป์. กรุงเทพฯ: ชัยมงคลพริ้นติ้ง.
4. พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน (ฉบับที่ 5) พ. ศ. 2545. (2545, 2 ตุลาคม). ราชกิจจานุเบกษา. เล่มที่ 119 ตอนที่ 99 ก., หน้า 1-13.
5. สำนักงานคณะกรรมการข้าราชการพลเรือน. (2543). การบริหารกิจการบ้านเมืองและสังคมที่ดี (Good Governance) รายงานประจำปี 2541-2543. กรุงเทพฯ: สำนักงานคณะกรรมการข้าราชการพลเรือน.