วิวัฒนาการของการปกครอง เศรษฐกิจและสังคมไทย
Main Article Content
บทคัดย่อ
บทความนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาวิวัฒนาการของการปกครอง เศรษฐกิจและสังคมของไทย เป็นการกล่าวถึงการปกครองเศรษฐกิจและสังคมของไทยตั้งแต่ในสมัยสุโขทัย อยุธยา จนถึงปัจจุบัน บทความวิชาการนี้มุ่งศึกษา ปัจจัยที่ส่งผลต่อพัฒนาการของการปกครอง เศรษฐกิจ และสังคมไทย ความเปลี่ยนแปลงและผลกระทบ ด้านการปกครอง เศรษฐกิจและสังคมของไทยในการก้าวสู่ประชาคมอาเซียน ที่นำไปสู่การเปลี่ยนแปลงในลักษณะการปกครองไทย เศรษฐกิจไทย พัฒนาการทางเศรษฐกิจของไทยในทางที่ดีขึ้นมากกว่าอดีต
Article Details
1. เนื้อหาและข้อมูลในบทความที่ลงพิมพ์กับวารสารวิจยวิชาการ ถือเป็นข้อคิดเห็น และความรับผิดชอบของผู้เขียนบทความโดยตรงซึ่งกองบรรณาธิการวารสารไม่จำเป็นต้องเห็นด้วย หรือร่วมรับผิดชอบใด ๆ
2. บทความ ข้อมูล เนื้อหา รูปภาพ ฯลฯ ที่ได้รับการตีพิมพ์ในวารสารวิจยวิชาการ ถือเป็นลิขสิทธิ์ของวารสารวิจยวิชาการ หากบุคคลหรือหน่วยงานใดต้องการนำทั้งหมดหรือส่วนหนึ่ง ส่วนใดไปเผยแพร่ต่อหรือเพื่อการกระทำการใด ๆ จะต้องได้รับอนุญาตเป็นลายลักษณ์อักษรจากวารสารวิจยวิชาการก่อนเท่านั้น
References
กฤษณา วิเชียรเพชร. (2553). ประวัติศาสตร์สมัยรัตนโกสินทร์. กรุงเทพฯ: ฟิสิกส์เซ็นเตอร์.
ธเนศ ศรีวิชัยลำพันธ์. (2554). เศรษฐกิจไทย. คณะเศรษฐศาสตร์: มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.
ประเสริฐ วิทยารัฐและคณะ. (2542). หนังสือเรียน ส306 ประเทศของเรา 4 สมบูรณ์แบบ. กรุงเทพฯ: วัฒนาพานิช.
พัชรี สุวรรณศรี และสุภัทณี เปี่ยมสุวรรณกิจ. ประชาคมโลก (Global Community) เศรษฐกิจโลก. คณะสังคมศาสตร์: มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย.
วรรณศิริ เดชะคุปต์ และปรีดี พิศภูมิวิถี.(2554). กรุงเก่าเล่าเรื่อง. กรุงเทพมหานคร : มติชน.
วินัย พงศ์ศรีเพียร. (2551). อยุธยา พรรณาภูมิสถานและมรดกความทรงจำแห่งพระนครศรีอยุธยา. กรุงเทพฯ: อุษาคเนย์.
ศรีศักร วัลลิโภดม. (2548). กรุงศรีอยุธยาของเรา. (พิมพ์ครั้งที่ 7). กรุงเทพฯ: มติชน.
สุจิตต์ วงษ์เทศ. (2552). อยุธยา ยศยิ่งฟ้า. (พิมพ์ครั้งที่ 3). กรุงเทพฯ: มติชน.
อัสวิน โกมนเมนะ. (2517). เศรษฐกิจสุโขทัยสมัยพ่อขุนรามคำแหง. (วิทยานิพนธ์ศิลปศาสตรบัณฑิต). คณะโบราณคดี: มหาวิทยาลัยศิลปากร.