มุมมองใหม่เรียนรู้วิจัยอย่างมีความสุข
Main Article Content
บทคัดย่อ
บทความวิชาการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อสร้างทัศนคติที่ดีในการทำวิจัย ชี้ให้เห็นภาพและหลักการของการเกิดองค์ความรู้ในเรื่องของการทำวิจัยในมิติที่ไม่ซับซ้อน ทำให้เกิดกำลังใจในการทำงานวิจัย ทั้งยังส่งเสริมให้นักวิจัยตระหนักถึงบทบาทและหน้าที่ของการเป็นนักวิจัยที่ดี ตลอดจนมองเห็นขั้นตอนของการทำวิจัยและนำการวิจัยไปปรับใช้ในการทำงานปัจจุบันได้อย่างมีประสิทธิภาพและก่อให้เกิดประโยชน์สูงสุด
Article Details
1. เนื้อหาและข้อมูลในบทความที่ลงพิมพ์กับวารสารวิจยวิชาการ ถือเป็นข้อคิดเห็น และความรับผิดชอบของผู้เขียนบทความโดยตรงซึ่งกองบรรณาธิการวารสารไม่จำเป็นต้องเห็นด้วย หรือร่วมรับผิดชอบใด ๆ
2. บทความ ข้อมูล เนื้อหา รูปภาพ ฯลฯ ที่ได้รับการตีพิมพ์ในวารสารวิจยวิชาการ ถือเป็นลิขสิทธิ์ของวารสารวิจยวิชาการ หากบุคคลหรือหน่วยงานใดต้องการนำทั้งหมดหรือส่วนหนึ่ง ส่วนใดไปเผยแพร่ต่อหรือเพื่อการกระทำการใด ๆ จะต้องได้รับอนุญาตเป็นลายลักษณ์อักษรจากวารสารวิจยวิชาการก่อนเท่านั้น
References
ปรัชญนันท์ นิลสุข. (2558). Routine to research to routine หรือ R2R2R. เข้าถึงได้จาก: https: //www.slideshare.net/prachyanun/routine-to-research1.
วิโรชน์ หมื่นเทพ. (2561). การพัฒนาสมรรถนะการวิจัยของครูโรงเรียนเอกชนเพื่อพัฒนาการเรียนรู้ของผู้เรียนโดยกระบวนการวิจัยก่อรูป. (ดุษฎีนิพนธ์ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาวิจัยวัดผลและสถิติการศึกษา). คณะศึกษาศาสตร์: มหาวิทยาลัยบูรพา.
Bhat, A. (2019). What is Research – Definition, Methods, Types & Examples. Retrieved from https://www.questionpro.com/blog/what-is-research/
Creawell, J.W. & Creawell, J.D. (2018). Research Design: Qualitative Quantitative and Mixed Methods Approaches. (5th ed.) California: SAGE Publication, Inc.
DePoy, E. & Gitlin, L.N. (2016). Introduction to Research: understanding and Applying Multiple Strategies. (5th ed.) Missouri: Elsevier Inc.
Hampshire College. (2018). What is Research?. Retrieved from https://www.Hamp shire.edu/dof/what-is-research
Williman, N. (2018). Research Methods. (2nd ed.) New York: Routledge.