การพัฒนาการเรียนรู้เพื่อพัฒนาทักษะทางสังคม

Main Article Content

พระมหาอุดร อุตฺตโร (มากดี)
พระครูสิริภูรินิทัศน์ (ฐิตสคฺโค ดิษสวรรค์)

บทคัดย่อ

บทความวิชาการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาการพัฒนาการเรียนรู้เพื่อพัฒนาทักษะทางสังคม ผลการศึกษา พบว่า มนุษย์จะต้องมีการใช้ชีวิตที่เริ่มจากกลุ่มสังคมเล็ก ๆ ที่เรียกว่า ครอบครัว จนไปสู่การเพิ่มจำนวนคนเป็นสังคมใหญ่ ทุกสังคมคงต้องมีการติดต่อสื่อสารกันจำเป็นจะต้องเรียนรู้การอยู่ร่วมกัน ซึ่งประกอบด้วยทักษะต่าง ๆ ที่เรียกว่าทักษะทางสังคม การเรียนรู้ทักษะทางสังคมสามารถเรียนรู้ได้ตลอดชีวิตผ่านค่านิยม ความเชื่อ วัฒนธรรม ผ่านประสบการณ์ที่สะสมมาของตนเอง และรับรู้ว่ามันเป็นส่วนหนึ่งของชีวิตประจำวัน บุคคลต้องมีการติดต่อสื่อสารกับผู้อื่น มีการทำงานร่วมกันแก้ไขความขัดแย้งของตนเอง สามารถปฏิบัติตัวได้ทุกสภาพแวดล้อม สมาชิกที่มีทักษะทางสังคมดีย่อมบ่งบอกว่าเป็นสังคมที่ดี รู้จักเสียสละประโยชน์ส่วนตน เพื่อประโยชน์ต่อคนส่วนมาก แต่ในทางตรงกันข้าม ถ้าสมาชิกมีความบกพร่อง จะทำให้มีแต่ความวุ่นวาย มีความเดือดร้อน ดังนั้นการพัฒนาการเรียนรู้เพื่อพัฒนาทักษะทางสังคมเพื่อให้รู้จักการแก้ปัญหาได้อย่างเหมาะสม และควบคุมพฤติกรรมตนเอง สามารถอยู่ร่วมกันของบุคคลในสังคมได้อย่างมีความสุข

Article Details

How to Cite
(มากดี) พ. อ. ., & พระครูสิริภูรินิทัศน์ (ฐิตสคฺโค ดิษสวรรค์). (2024). การพัฒนาการเรียนรู้เพื่อพัฒนาทักษะทางสังคม. วารสารวิจยวิชาการ, 7(1), 353–370. https://doi.org/10.14456/jra.2024.26
บท
บทความวิชาการ

References

กัญญา สมบูรณ์. (2558). รูปแบบการเสริมสร้างทักษะทางสังคมของเยาวชนชนเผ่ามูเซอแดงในอำเภอปางมะผ้า จังหวัดแม่ฮ่องสอน. (วิทยานิพนธ์ดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาผู้นำทางการศึกษาและการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์). บัณฑิตวิทยาลัย : มหาลัยราชภัฏเชียงใหม่.

จรีลักษณ์ รัตนาพันธ์. (2557). ทักษะทางสังคม. เข้าถึงได้จาก https://jareeluk.blogspot. com/2014/09/blog-post_27.html.

ชญานิษฎ์ สุระเสนา. (2559). การให้คำปรึกษากลุ่มเชิงบูรณาการเพื่อพัฒนาทักษะทางสังคมของนักศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฏ. (ดุษฎีนิพนธ์ปรัชญาดุษฎีบัณฑิตทางสังคมศาสตร์). บัณฑิตวิทยาลัย : มหาวิทยาลัยรามคำแหง.

ณิรดา เวชญาลักษณ์. (2559 ตุลาคม-ธันวาคม). การพัฒนาผู้เรียนโดยใช้โครงการศึกษาแหล่งเรียนรู้. วารสารบัณฑิตศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนคร, 13(63), 1-9.

น้ำผึ้ง เลาหบุตร. (2560). การพัฒนาความสามารถในการแก้ปัญหาอย่างสร้างสรรค์และทักษะทางสังคม โดยจัดประสบการณ์เรียนรู้แบบโครงการ สำหรับเด็กปฐมวัย. (วิทยานิพนธ์ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาหลักสูตรและการนิเทศ). บัณฑิตวิทยาลัย : มหาวิทยาลัยศิลปากร.

นิอิบณูรอวี บือราเฮง. (2558). ผลของการสอนแบบบูรณาการด้วยการสอนแบบห้องเรียนกลับด้าน สื่อประสม และนวัตกรรมคุณลักษณ์ศึกษาด้านทักษะทางสังคมที่มีต่อพฤติกรรมและผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนสาระการเรียนรู้ศาสนประวัติของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1. (วิทยานิพนธ์ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา). บัณฑิตวิทยาลัย : มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์.

นุชรี อุปภัย. (2556). จิตวิทยาการศึกษา. (พิมพ์ครั้งที่ 3). กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

วลัย อิศรางกูร ณ อยุธยา. (2555). ครูสังคมศึกษากับการพัฒนาทักษะแก่นักเรียน. กรุงเทพฯ : คณะครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

วัชระ หนูมงกุฎ. (2557). ผลของการใช้ชุดภาพร่วมกับการแสดงบทบาทสมมติเพื่อเพิ่มทักษะทางสังคมของนักเรียนออทิสติก. (วิทยานิพนธ์ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาจิตวิทยาการศึกษาพิเศษ). บัณฑิตวิทยาลัย : มหาวิทยาลัยศิลปากร.

สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ. (2559). แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 12 (พ.ศ.2560-2564). กรุงเทพฯ : สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ.

สิริมา ภิญโญอนันตพงษ์. (2556). การวัดและประเมินเด็กแนวใหม่: เด็กปฐมวัย. (พิมพ์ครั้งที่ 4). กรุงเทพฯ : บารากัซ.

สุดาพร ปัญญาพฤกษ์ และเสริมศรี ไชยศร. (2558). การพัฒนารูปแบบการเรียนการสอนตามแนวคิดคอนสตรักติวิสต์เชิงสังคม เพื่อเสริมสร้างทักษะทางสังคมที่จ้าเป็นสำหรับวิชาชีพครูยุคใหม่. วารสารการวิจัยกาสะลองคำ, 9(2), 15-26.

สุรางค์ โค้วตระกูล. (2556). จิตวิทยาการศึกษา. (พิมพ์ครั้งที่ 11). กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

อัชรา เอิบสุขสิริ. (2557). จิตวิทยาสำหรับครู. (พิมพ์ครั้งที่ 2). กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

อัธยา เมิดไธสง. (2557). การพัฒนาทักษะทางสังคมของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปี ที่ 6 โดยใช้เทคนิคการเรียนรู้แบบร่วมเรียนร่วมรู้ (Learning Together Technique) รหัสวิชา ส. 16101 หน้าที่พลเมือง วัฒนธรรมและการดำรงชีวิตในสังคม โรงเรียนวังยางวิทยาคารจังหวัดกาฬสินธุ์. (วิทยานิพนธ์ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาหลักสูตรและการสอน). บัณฑิตวิทยาลัย : มหาวิทยาลัยขอนแก่น.

Bandura, A. (1977). Social learning theory. New Jersey : Prentice-Hall.

Goleman, D. (2006). Social intelligence; Why it can Matter More than IQ. New York : Bantam Books.

Knowles, M.S. (1975). Self-Directed Learning: A Guide for Learners and Teachers. Chicago : Follett Publishing Company.

National Association of School Psychologist. (2008). Ready to learn, empowered to teach: Excellence in education for the 21st Century. Bethesda, MD : Author.

Ollhoff, J. & Ollhoff, L. (2004). Getting Along Teaching Social Skills to Children and Youth. MN : Sparrow Media Group.

Schwinn, T. M., et al. (2010). Preventing drug abuse among adolescent girls: Outcome data from an Internet-based intervention. Prevention Science.

Volkmar, F., et al. (2005). Asperger syndrome. Journal of Autism and Developmental Disorders, 35(2), 145–158.