โมเดลปัจจัยเชิงสาเหตุที่มีอิทธิพลต่อความสำเร็จอย่างยั่งยืนในการบริหารคลังสินค้าขนาดเล็กบนความปกติใหม่

Main Article Content

เอกชัย เรืองรัตน์
สุดา สุวรรณาภิรมย์
ธิปัทย์ โสตถิวรรณ์

บทคัดย่อ

บทความวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาอิทธิพลการเปลี่ยนแปลงทางดิจิทัล ส่วนประสมทางการตลาดแบบใหม่ คุณลักษณะของผู้ประกอบการ และความยั่งยืนบนความปกติใหม่ ที่ส่งผลต่อความสำเร็จในการบริหารคลังสินค้าขนาดเล็ก กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย คือ ผู้ประกอบการวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม (SME) ในเขตกรุงเทพฯและปริมณฑล ประกอบด้วย กรุงเทพมหานคร จังหวัดปทุมธานี จังหวัดสมุทรสาคร จังหวัดสมุทรปราการ และจังหวัดนนทบุรี  ประกอบด้วย 3 กลุ่ม ได้แก่ 1) กลุ่มการผลิต  2) กลุ่มการค้าปลีก และค้าส่ง และ 3) กลุ่มบริการ  จำนวน 400 คน เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บข้อมูลคือแบบสอบถาม การวิเคราะห์ข้อมูลโดยการวิเคราะห์สมการโครงสร้างโดยใช้โปรแกรมลิสเรล ผลการวิจัย พบว่า แบบจำลองสมการโครงสร้างการเปลี่ยนแปลงทางดิจิทัล ส่วนประสมทางการตลาดแบบใหม่ คุณลักษณะของผู้ประกอบการ ความยั่งยืนบนความปกติใหม่ มีอิทธิพลต่อความสำเร็จในการบริหารคลังสินค้าขนาดเล็กของผู้ประกอบการ โดยแบบจำลองสมการโครงสร้างของความสำเร็จในการบริหารคลังสินค้าขนาดเล็ก (Success: SUCC) สอดคล้องกับข้อมูลเชิงประจักษ์ โดยพิจารณาจาก ค่า c2 = 102.258, df = 90, ค่า p = 0.178, c2/ df = 1.136, ดัชนี GFI = 0.967, NFI = 0.993, NNFI = 0.998, CFI = 0.999, RMR = 0.028, SRMR = 0.029, RMSEA = 0.020, และ = 0.909 จากค่าสถิติดังกล่าวจะเห็นได้ว่าค่า p มีค่ามากพอที่จะยอมรับสมมติฐาน (p > .05) ดัชนีต่าง ๆ ผ่านเกณฑ์ในการพิจารณา จึงสรุปได้ว่า แบบจำลองสมการโครงสร้างของความสำเร็จในการบริหารคลังสินค้าขนาดเล็ก (Success: SUCC) สอดคล้องกับข้อมูลเชิงประจักษ์ ตัวแปรทั้งหมดสามารถอธิบายความแปรปรวนของความสำเร็จในการบริหารคลังสินค้าขนาดเล็ก (Success: SUCC) ได้ร้อยละ 90.90 ซึ่งเป็นการอธิบายความแปรปรวนของความสำเร็จในการบริหารคลังสินค้าขนาดเล็ก (Success: SUCC) ได้ดีมาก

Article Details

How to Cite
เรืองรัตน์ เ. . ., สุวรรณาภิรมย์ ส. ., & โสตถิวรรณ์ ธ. . (2024). โมเดลปัจจัยเชิงสาเหตุที่มีอิทธิพลต่อความสำเร็จอย่างยั่งยืนในการบริหารคลังสินค้าขนาดเล็กบนความปกติใหม่ . วารสารวิจยวิชาการ, 7(2), 97–116. https://doi.org/10.14456/jra.2024.37
บท
บทความวิจัย

References

ณัฐ เหลืองคําชาติ และณัฐสพันธ์ เผ่าพันธุ์. (2563). ปัจจัยเชิงเหตุและผลของการจัดการธุรกิจ อสังหาริมทรัพย์ในประเทศไทย. วารสารสังคมศาสตร์และมานุษยวิทยาเชิงพุทธ, 5(9), 332-350.

ธีทัต ตรีศิริโชติ. (2564). การปรับกลยุทธ์ให้เหมาะสมกับสถานการณ์ที่เปลี่ยนแปลง. วารสารวิชาการสังคมศาสตร์เครือข่ายวิจัยประชาชื่น, 3(2), 62-72.

นันทิญา เต็มมูล (2563). การศึกษาคุณภาพการให้บริการธุรกิจปล่อยเช่าคลังสินค้าโรงงาน กรณีศึกษา ผู้ใช้บริการเช่าคลังสินค้า โรงงาน บริษัท โชติธนวัฒน์ จำกัด. (การค้นคว้าอิสระบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต). คณะบริหารธุรกิจ : มหาวิทยาลัยรามคำแหง.

บุญชม ศรีสะอาด. (2556). การวิจัยเบื้องต้น. (พิมพ์ครั้งที่ 9). กรุงเทพฯ : สุวีริยาสาส์น.

ประทุม สุดใจ. (2559). การตัดสินใจเช่าคลังสินค้าของสถานประกอบการในคลังสินค้าบริษัท โชติธนวัฒน์ จำกัด. (วิทยานิพนธ์บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต). บัณฑิตวิทยาลัย : มหาวิทยาลัยศิลปากร.

ศาวิตรี ธนกิจเจริญพัฒน์, ปิยะฉัตร จารุธีรศานต์ และสุรสิทธิ์ บุญชูนนท์. (2565). ความสัมพันธ์ระหว่างความสามารถเชิงพลวัตและองค์ประกอบการเปลี่ยนแปลงทางดิจิทัลด้านการจัดการการดำเนินงานในกลุ่มอุตสาหกรรมผู้ผลิต รถยนต์ในประเทศไทย. วารสารศิลปการจัดการ, 6(3), 1392-1405.

สรสินธุ์ ฉายสินสอน. (2564). ปัจจัยเชิงสาเหตุด้านคุณลักษณะผู้ประกอบการ และการรับรู้เทคโนโลยีที่ส่งผลต่อพฤติกรรมการยอมรับเทคโนโลยีคลังสินค้าอัจฉริยะเชิงพาณิชย์ ของผู้ประกอบการวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมในประเทศไทย. วารสารสถิติประยุกต์และเทคโนโลยีสารสนเทศ, 6(1), 21-36.

สุภมาส อังศุโชติ และคณะ. (2554). สถิติวิเคราะห์สำหรับการวิจัยทางสังคมศาสตร์และพฤติกรรมศาสตร์เทคนิคการใช้โปรแกรม LISREL. (ครั้งที่ 3 ฉบับปรับปรุง). กรุงเทพฯ : เจริญดีมั่นคงการพิมพ์.

Chant Rat, S. (2020). How Will the Thai Agricultural Landscape Transform towards Sustainable Development. Bangkok : Puey Ungphakorn Institute for Econo mic Research.

Christ Mann, A. & Van Aelst, S. (2006). Robust estimation of Cronbach's alpha. Journal of Multivariate Analysis, 97(7), 1660-1674.

Chun, M. W., Griffy-Brown, C. & Koeppel, H. (2014). The New Normal: Fundamental Shifts for 21st Century Organizations and for the CIOs Who Lead Them. Journal of Applied Business & Economics, 16(5), 27-50.

Goromaru, H., Kokogawa, T., Ueda, Y. & Fukaya, S. (2021). Study of new normal business continuity to improve resilience against uncertain threat. Journal of Disaster Research, 16(1), 31-39.

Hair, J., Black, W., Babin, B., Anderson, R. & Tatham, R. (2006). Multivariate Data Analysis. Upper Saddle River, NJ : Prentice Hall.

Hambleton, R. K. & Rovinelli, R. J. (1986). Assessing the dimensionality of a set of test items. Applied psychological measurement, 10(3), 287-302.

Khin, S. & Ho, T. C. (2018). Digital technology, digital capability and organizational performance: A mediating role of digital innovation. International Journal of Innovation Science, 11(2), 177-195.

Liu, S., Yang, L., Zhang, C., Xiang, Y. T., Liu, Z., Hu, S. & Zhang, B. (2020). Online mental health services in China during the COVID-19 outbreak. The Lancet Psychiatry, 7(4), e17-e18.

Morakanyane, R., Grace, A. A. & O'reilly, P. (2017). Conceptualizing digital transformation in business organizations: A systematic review of literature. In 30TH Bled eConference: Digital Transformation – From Connecting Things to Transforming Our Lives (p. 427-443). Bled, Slovenia : Univerza v Mariboru.

Osmundsen, K., Iden, J. & Bygstad, B. (2018). Digital Transformation: Drivers, Success Factors, and Implications. MCIS 2018 Proceedings, 37. Retrieved from https://aisel.aisnet.org/mcis2018/37

Piccinini, E., et al. (2015). Transforming industrial business: the impact of digital transformation on automotive organizations. International Conference on Information Systems 2015. Retrieved from https://www.researchgate. Net /publication/281855658_Transforming_Industrial_Business_The_Impact_of_Digital_Transformation_on_Automotive_Organizations

Smith, C. & Zheng, Y. (2016). Chinese MNCs’ globalization, work and employment. In J. Drahokoupil, R. Andrijasevic, & D. Sacchetto (Eds.). Flexible workforces and low profit margins: electronics assembly between Europe and China (pp. 67-92). The European Trade Union Institute.

Sulistyo, A. (2021). Sme’s Strategy in Creating Sustainable Business During Covid-19 Towards the New Normal Era Based on Marketing Mix Perspective. In International Conference on Health and Medical Sciences (AHMS 2020) (pp. 200-204). Netherlands : Atlantis Press.