ความสุขในชีวิตของผู้สูงอายุ
Main Article Content
บทคัดย่อ
บทความวิชาการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อนำเสนอแนวคิดเกี่ยวกับความสุขในชีวิตของผู้สูงอายุ ซึ่งหมายถึง การรับรู้ของผู้สูงอายุในการคิด การรู้สึก การกระทำ ความกระตือรือร้นในการดำเนินชีวิต การดูแลสุขภาพกาย การดูแลสุขภาพจิต การมองโลกในแง่ดี การมีสัมพันธภาพทางบวก การมีความยืดหยุ่นในการปรับมุมมองความคิด และการมีความมั่นคงทางเศรษฐกิจสังคม สำหรับองค์ประกอบหรือปัจจัยที่ทำให้เกิดความสุข และมีผลต่อการปรับเปลี่ยนความคิดและความเป็นอยู่ของชีวิตประกอบด้วย 5 องค์ประกอบที่เรียกว่า แบบจำลองเพอร์ม่า หรือแบบจำลองที่ทำให้เกิดความสุขในชีวิตแบบยูไดโมนิกส์ที่เน้นศักยภาพและความเจริญรุ่งเรืองของบุคคลเป็นสำคัญ ซึ่งแสดงออกเป็นพฤติกรรมที่สามารถสังเกตได้คือ รู้สึกดีมีอารมณ์บวก ให้ความร่วมมือกับกิจกรรมของสังคม มีสัมพันธภาพที่ดีทุกรูปแบบ เข้าใจความหมายของการใช้ชีวิต แลตระหนักถึงความสำเร็จในชีวิตที่ผ่านมา นอกจากนี้ ความสุขในชีวิตของผู้สูงอายุสามารถเสริมสร้างให้เกิดขึ้นได้ โดยนำแนวคิดทฤษฎีต่าง ๆ ทางจิตวิทยามาประยุกต์ใช้ในการจัดกิจกรรมต่าง ๆ ทางจิตวิทยา
Article Details

This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
1. เนื้อหาและข้อมูลในบทความที่ลงพิมพ์กับวารสารวิจยวิชาการ ถือเป็นข้อคิดเห็น และความรับผิดชอบของผู้เขียนบทความโดยตรงซึ่งกองบรรณาธิการวารสารไม่จำเป็นต้องเห็นด้วย หรือร่วมรับผิดชอบใด ๆ
2. บทความ ข้อมูล เนื้อหา รูปภาพ ฯลฯ ที่ได้รับการตีพิมพ์ในวารสารวิจยวิชาการ ถือเป็นลิขสิทธิ์ของวารสารวิจยวิชาการ หากบุคคลหรือหน่วยงานใดต้องการนำทั้งหมดหรือส่วนหนึ่ง ส่วนใดไปเผยแพร่ต่อหรือเพื่อการกระทำการใด ๆ จะต้องได้รับอนุญาตเป็นลายลักษณ์อักษรจากวารสารวิจยวิชาการก่อนเท่านั้น
References
เกสร มุ้ยจีน. (2559). การสร้างความสุขด้วยจิตวิทยาเชิงบวก. วารสารวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี, 24(4), 673-681.
กรมสุขภาพจิต กระทรวงสาธารณสุข. (2556). คู่มือ “ความสุข 5 มิติ” สำหรับผู้สูงอายุ. (พิมพ์ครั้งที่ 6). กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์ชุมนุมสหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย จำกัด.
กันย์ธนัญ สุชิน, ธนพัทธ์ จันท์พิพัฒน์พงศ์ และทิพวรรณ เมืองใจ. (2563). การศึกษาและพัฒนารูปแบบเพื่อเสริมสร้างความสุขจากปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อความสุขของผู้สูงอายุ อำเภอเชียงของ จังหวัดเชียงราย. วารสารชุมชนวิจัย, 14(3), 58-71.
ดุษฎี อายุวัฒน์ และคณะ. (2562). ความสุขในชีวิตของผู้สูงอายุภาคตะวันออกเฉียงเหนือ. วารสารภาษา ศาสนา และวัฒนธรรม, 8(1), 136-155.
ปรีชา อุปโยคิน. (2556). รูปแบบการควบคุมทางสังคมเพื่อการเลิกสูบบุหรี่: การบูรณาการความร่วมมือระหว่างเครือข่ายชุมชนกับระบบการบริการสุขภาพของรัฐระดับชุมชน. (รายงานการวิจัย). ศูนย์วิจัยและจัดการความรู้เพื่อการควบคุมยาสูบ : มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง.
ปิยะ ศักดิ์เจริญ. (2558). ทฤษฎีการเรียนรู้ผู้ใหญ่และแนวคิดการเรียนรู้ด้วยการชี้นำตนเอง: กระบวนการเรียนรู้เพื่อการส่งเสริมการเรียนรู้ตลอดชีวิต. วารสารพยาบาลทหารบก, 16(1), 8-13.
พระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ. ปยุตฺโต). (2552). พุทธธรรม. (พิมพ์ครั้งที่ 11). กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์มหาจุฬาลงกรณ์ราชวิทยาลัย.
พระสมุห์โชคดี วชิรปญฺโญ (ราโชกาญจน์), สิริวัฒน์ ศรีเครือดง และวิชชุดา ฐิติโชติรัตนา. (2564). รูปแบบการพัฒนาความสุขของผู้สูงอายุตามแนวพุทธจิตวิทยาในสังคมสมัยใหม่. วารสารครุศาสตร์ปริทรรศน์ฯ, 8(2), 41-53.
ภาคิน บุญพิชาชาญ, ศิริรัตน์ ปานอุทัย และเดชา ทำดี. (2565). ความรอบรู้ด้านสุขภาพจิตและความผาสุกทางใจในผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิง. พยาบาลสาร มหาวิทยาลัยเชียงใหม่, 49(1), 186-97.
สถาบันวิจัยประชากรและสังคม. (2551). สารประชากรมหาวิทยาลัยมหิดล 17(มกราคม). เข้าถึงได้จาก https://ipsr.mahidol.ac.th/research_year/2551/
สราวุฒย์ วิจิตรปัญญา และคณะ. (2561). การพัฒนารูปแบบและกระบวนการดูแลสุขภาวะผู้สูงอายุในโรงเรียนผู้สูงอายุตามแนวพระพุทธศาสนา. (รายงานการวิจัย). มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย : วิทยาลัยสงฆ์พ่อขุนผาเมือง.
อรพินทร์ ชูชม. (2559). โครงสร้างของความสุขและสุขภาวะในจิตวิทยาเชิงบวก. วารสารจิตวิทยามหาวิทยาลัยเกษมบัณฑิต, 6(2), 1-7.
อรรถกร เฉยทิม. (2560). ความสุขของผู้สูงอายุในชมรมผู้สูงอายุ เขตกรุงเทพมหานคร. (วิทยานิพนธ์ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต). บัณฑิตวิทยาลัย : มหาวิทยาลัยศิลปากร.
อรัญญา ตุ้ยคำภีร์ และคณะ. (2562). มุมมองการสูงวัยอย่างมีความสุขและสุขภาวะ. (รายงานการวิจัย). กรุงเทพฯ : จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
อัญชลี เชี่ยวโสธร. (2566). การพัฒนารูปแบบการนำตนเองเพื่อเสริมสร้างความสุขในชีวิตของผู้สูงอายุในเขตกรุงเทพมหานคร. (ดุษฎีนิพนธ์ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาจิตวิทยาเพื่อการพัฒนาศักยภาพมนุษย์). บัณฑิตวิทยาลัย : มหาวิทยาลัยเกษมบัณฑิต.
Bada, S. O. & Olusekun, B. S. (2015). Constructivism Learning Theory: A Paradigm for Teaching and Learning. IOSR Journal of Research & Method in Education, 5(6), 66-70.
Brooks, A. C. (2022). From strength to strength: Finding success, happiness and deep purpose in the second half of life. London : Bloomsbury Publishing.
Gilbert, D. (2006). Stumbling on happiness. New York : Alfred Knopf.
Madhi, S. & Najafi, M. (2018). The relationship between spiritual well-being and hope with quality of life, and happiness in older adults. Journal of Psychological Science, 17(65), 78-94.
May, R. & Yalom, I. (1995). Existential psychotherapy. In: Corsini, R.J., & Wedding, D., eds. Current Psychotherapies. (5th ed). Itasca, IL : F.E. Peacock.
Segura, A., Cardona, D., Segura, A., Robledo, C. A. & Munoz, D. I. (2003). The subjective perception of the happiness of older adult residents in Colombia. Frontiers in Medicine, 10. https://doi.org/10.3389/fmed.2023.1055572
Seligman, M. E. P. (2013). Flourish: a visionary new understanding of happiness and well-being. New York : Atria Books.
StonćikaitèORCID, I. (2019). Revising happiness and well-being in later life from interdisciplinary age-studies perspectives. Behavioral Sciences, 9(9), 94. https://doi.org/10.3390/bs9090094
Tian, H. & Chen, J. (2022). Study on Life Satisfaction of the Elderly Based on Healthy Aging. Journal of Healthcare Engineering, 7. https://doi.org/10.1155/2022/ 8343452
Vygotsky, L. & Cole, M. (2018). Lev Vygotsky: Learning and social constructivism. Learning theories for early years practice, 66, 58.
Wei, Y. & Tsay, W. J. (2022). Does Distance Make Happiness? Geographic Proximity of Adult Children and the Well-being of Older Persons. Journal of Aging & Social Policy, 36(2), 222-240. doi: 10.1080/08959420.2022.2080464.