ปะโอ ข้ามแดนในเมืองเชียงใหม่

ผู้แต่ง

  • สุนทร คำยอด คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยแม่โจ้
  • สุทธิพงศ์ พัฒนวิบูลย์ กองการศึกษา เทศบาลตำบลหนองป่าครั่ง

บทคัดย่อ

ปะโอข้ามแดนในเมืองเชียงใหม่ แบ่งได้ ๒ ระยะคือ การข้ามแดน ยุคจารีต และการข้ามแดนในยุครัฐชาติ การสร้างตัวตนของกลุ่มชาติพันธุ์ ปะโอในเมืองเชียงใหม่ ในยุคจารีตได้ใช้พื้นที่ทางศาสนา ผ่านการปฏิสังขรณ์ ศาสนสถาน ส่วนกลุ่มปะโอข้ามแดนในยุครัฐชาติ จะแสดงตัวตนดว้ ยการจัดงาน วันชาติ เป็นกิจกรรมที่รวบรวมคนปะโอข้ามแดนที่แต่งกายด้วยเสื้อผ้าและ ประดับด้วยสัญลักษณ์ที่แสดงถึง “ความเป็นปะโอ” กิจกรรมนี้ได้ผลิตซํ้า ความเชื่อ และประเพณีที่สำคัญของชาวปะโอในรูปของการแสดงบนเวที อีกทั้งได้ผลิตซํ้า อุดมการณ์ของรัฐไทย เพื่อกำหนดตำแหน่งให้ที่ให้กับชาติพันธุ์ปะโอข้ามแดน ในพื้นที่เมืองเชียงใหม่

References

ตำนานพื้นเมืองเชียงใหม่ ฉบับเชียงใหม่ ๗๐๐ ปี. ๒๕๓๘. เชียงใหม่:ศูนย์วัฒนธรรมจังหวัดเชียงใหม่ สถาบันราชภัฏเชียงใหม่.

ปราณี ศิริธร. ๒๕๒๘. เหนือแคว้นแดนสยาม. เชียงใหม่: ลานนาสาร.

มติชนออนไลน์. (๒๕๕๙). ชาว “ปะโอ” ต่อแถวรอถวายบังคมพระบรมศพ. สืบค้น เมื่อ ๘ มิถุนายน, ๒๕๖๑, จาก มติชนออนไลน์: https://www.matichon.co.th/local/news_366661.

รัตนาพร เศรษฐกุล. ๒๕๕๒. ประวัติศาสตร์เศรษฐกิจวัฒนธรรม แอ่งเชียงใหม่-ลำพูน.กรุงเทพฯ: ซิลค์เวอร์ม.

สรัสวดี อ๋องสกุล. ๒๕๕๑. ประวัติศาสตร์ล้านนา. กรุงเทพฯ: อมรินทร์.

สมพงศ์ วิทยศักดิ์พันธุ์. ๒๕๔๑. ถิ่นที่อยูค่ นไทยในจังหวัดเชียงใหม่. เชียงใหม่:มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.

สมโชติ อ๋องสกุล. ๒๕๔๖. ประวัติศาสตร์ชุมชนเพื่อชุมชน (เล่มสาม).เชียงใหม่: คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.

สมหมาย เปรมจิตต์. ๒๕๑๘. รายชื่อวัดและนิกายสงฆ์โบราณในเชียงใหม่.เชียงใหม่: คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.

สารานุกรมวัฒนธรรมไทย ภาคเหนือ. ๒๕๔๒. กรุงเทพฯ: มูลนิธิสารานุกรมวัฒนธรรมไทย ธนาคารไทยพาณิชย์.

สารานุกรมวัฒนธรรมไทย ภาคอีสาน. ๒๕๔๒. กรุงเทพฯ: มูลนิธิสารานุกรมวัฒนธรรมไทย ธนาคารไทยพาณิชย์.

สุจิตต์ วงษ์เทศ, บรรณาธิการ. ๒๕๕๖. คนแปลกหน้านานาชาติของกรุงสยาม : ใน”โคลงต่างภาษา” ที่วัดโพธิ์ (University in stone) งานเขียนเชิงชาติพันธุว์ รรณา (ethnography) ชิ้นแรกของสยาม. กรุงเทพฯ: มติชน.

สำนักบริหารแรงงานต่างด้าว. (๒๕๖๑). ข้อมูลสถิติการทำงานของคนต่างด้าว. สืบค้น เมื่อ ๘ มิถุนายน, ๒๕๖๑, จาก กรมการจัดหางาน: https://www.doe.go.th/prd/

อนุ เนินหาด. ๒๕๔๘. ประวัติชุมชนในเมืองเชียงใหม่. เชียงใหม่: นพบุรีการพิมพ์.

อนุ เนินหาด. ๒๕๔๙. “ท่าแพ” ตะวา. เขียงใหม่: นพบุรีการพิมพ์.

อรุณรัตน์ วิเชียรเขียว. ๒๕๓๙. วัดร้า งในเวียงเชียงใหม่. เชียงใหม่: สุริวงศ์บุ๊ค เซนเตอร์.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

28-09-2018

ฉบับ

บท

บทความวิจัย