กรรมสิทธิ์ชุมชนของกลุ่มชาติพันธุ์ในกฎหมายประเทศกัมพูชา
คำสำคัญ:
คำสำคัญ: สิทธิชุมชน โฉนดชุมชน กลุ่มชาติพันธุ์ อัตลักษณ์บทคัดย่อ
บทความนี้ ศึกษาปรากฏการณ์การเรียกร้องสิทธิ์ชุมชนของกลุ่มชาติพันธุ์ต่าง ๆ ในประเทศกัมพูชา เพื่อศึกษาถึงกฎหมายและวิธีปฏิบัติที่เกี่ยวข้องกับการจัดการทรัพยากรของชุมชนตามจารีตประเพณี วัฒนธรรม และวิถีการดำรงชีวิตของกลุ่มชาติพันธุ์เขมรดั้งเดิม
บทความนี้เสนอว่า รัฐควรลดขั้นตอนในการออกโฉนดชุมชนให้เหลือเพียงหน่วยงานเดียวเพื่อลดทั้งระยะเวลาและงบประมาณในการดำเนินการออกโฉนดชุมชน ส่วนข้อความในมาตราหกของพระราชกฤษฎีกา 83 ที่กำหนดให้ป่าอารักษ์กับป่าช้าฝังศพของแต่ละชุมชนชาติพันธุ์ต่าง ๆ มีที่ดินได้ไม่เกินเจ็ดเฮกตาร์นั้น ควรมีการปรับเปลี่ยนแก้ไขให้ความยืดหยุ่นมากขึ้น
References
เลิศชาย ศิริชัย. (2546). “สิทธิชุมชนและปัญหาสิทธิชุมชนท้องถิ่นภาคใต้” พลวัตรสิทธิชุมชน:
กระบวนทัศน์ทางมานุษยวิทยา ” ใน ชลธิรา สัตยาวัฒนา (บก.) กรุงเทพมหานคร :
สำนักพิมพ์แปลน พริ้นติ้ง จำกัด.
เลิศชาย ศิริชัย. (บก.). (2555). โครงการขนาดใหญ่ กับความรู้ความจริง. วารสารสังคมศาสตร์
มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ 5 (5).
สงบ บุญคล้อย และคณะ. (2546). โครงการศึกษาค้นคว้าเพื่อจัดทำหนังสือคู่มือราชอาณาจักร
กัมพูชา. กรุงเทพมหานคร : สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย.
สีดา สอนศรี และคณะ. (2552). เอเชียตะวันออกเฉียงใต้:นโยบายต่างประเทศหลังวิกฤตเศรษฐกิจ
(ค.ศ. 1977-2006). กรุงเทพมหานคร : จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
อานันท์ กาญจนพันธุ์. (2544). มิติชุมชนวิธีคิดท้องถิ่นว่าด้วยสิทธิ อำนาจและการจัดการ
ทรัพยากร. กรุงเทพมหานคร : สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย.
Cambodian Center For Human Rights. (2013). Cambodia: Land in Conflict An
Overview of the Land Situation. Phmon Penh: CCHRA.
Cambodian Center For Human Rights. (2016). Access to Collective Land Titles for
Indigenous Communities in Cambodia. Phnom Penh: CCHR.
Daes, M. E. I. A. (2001). Prevention of discrimination and protection of indigenous
peoples and minorities. Indigenous peoples and their relationship to land
(Final working paper E/CN. 4/Sub. 2/2001/21).
Hun Sen. (2014). In Facebook [Fan page]. Retrieved March 25,2014, Retrieved from
http://www.facebook.com/pages/Hun Sen/5556666
Hun Sen. (2015). In Facebook [Fan page]. Retrieved March 23,2015, Retrieved from
https://www.facebook.com/pages/Samdech-Hun-Sen-Cambodian-Prime-Minister/111975152184324?fref=ts.
KHAM V. and Team (2016). Collective Land Registration of Indigenous Communities
in Ratanakiri province. Phnom Penh : Parliamentary Institute of Cambodia.
Neef A. and Siphat T. "Land grabbing in Cambodia: narratives, mechanisms,
resistance." the Journal 17 (2012) : 19.
MINISTRY OF RURAL DEVELOPMENT. (2009).National Policy on the Development of
Indigenous People. Phnom Penh : Ministry of Rural.
MINISTRY OF PLANNING. (2014). CDB National Data 2014. In: MINISTRY OF PLANNING
(ed.). Phnom Penh: MINISTRY OF PLANNING.
Yeang S. (2011).“Forestland as Contested Space: A case Study of Land Concession
in Pursat Province, Cambodia.” M.A. Thesis in Sustainable Development, the
Graduate School, Chiang Mai University, Thailand.
Sovathana S. (2012). “The Transformation of Northeastern Cambodia : The
Politics of Development in an Ethnic Minority, Ratanakiri Province.” M.A.
Thesis in Sustainable Development, the Graduate School, Chiang Mai University,
Thailand.
ក្រសួងផែនការ. (2014). ផែនការយុទ្ធសាស្ត្រអភិវឌ្ឍន៍ជាតិសម្រាប់កម្ពុជា ឆ្នាំ 2014 2018. ភ្នំពេញ :
ទីស្តីការគណៈរដ្ឋមន្ត្រី.
ច្បាប់ភូមិបាល 2001
ច្បាប់ស្តីពីព្រៃឈើ 2002
ទីស្តីការគណៈរដ្ឋមន្ត្រី. (2013). របាយការណ៍ប្រចាំឆ្នាំស្តីពីផែនការយុទ្ធសាស្ត្រអភិវឌ្ឍន៍ជាតិ ឆ្នាំ 2009-
2013. ភ្នំពេញ : ទីស្តីការគណៈរដ្ឋមន្ត្រី.
រដ្ឋធម្មនុញ្ញនៃព្រះរាជាណាចក្រកម្ពុជា 1993
អនុក្រឹត្យលេខ ៨៣ ស្តីពី នីតិវិធីនៃការចុះបញ្ជីដីសហគមន៍ជនជាតិដើមភាគតិច 2009
អនុក្រឹត្យស្តីពីសម្បទានដីសេដ្ឋកិច្ច 2005.
อาจารย์ฤทธิ์ (เป็นผู้ให้สัมภาษณ์) สุธี ชล (ผู้สัมภาษณ์). พนมเปญ ประเทศกัมพูชา, วันที่ 09 มกราคม 2563.
Downloads
เผยแพร่แล้ว
ฉบับ
บท
License
บทความที่ได้รับการตีพิมพ์เป็นลิขสิทธิ์ของวารสารวิชาการนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยทักษิณ
ข้อความที่ปรากฏในบทความแต่ละเรื่องในวารสารวิชาการเล่มนี้เป็นความคิดเห็นส่วนตัวของผู้เขียนแต่ละท่านไม่เกี่ยวข้องกับคณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยทักษิณ และคณาจารย์ท่านอื่นๆในมหาวิทยาลัยฯ แต่อย่างใด ความรับผิดชอบองค์ประกอบทั้งหมดของบทความแต่ละเรื่องเป็นของผู้เขียนแต่ละท่าน หากมีความผิดพลาดใดๆ ผู้เขียนแต่ละท่านจะรับผิดชอบบทความของตนเองแต่ผู้เดียว