ความสัมพันธ์ระหว่างรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๖๐ กับองค์กรอัยการ

รวินท์ ชัยภิวัตรภักดี

ผู้แต่ง

  • รวินท์ ชัยภิวัตรภักดี สำนักงานอัยการสูงสุด

คำสำคัญ:

รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๖๐ มาตรา ๒๔๘ องค์กรอัยการ สำนักงานอัยการสูงสุด

บทคัดย่อ

รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2560 แบ่งออกเป็น 16 หมวดกับอีก 1 บทเฉพาะกาล ซึ่งบทบัญญัติขององค์กรอัยการถูกกำหนดไว้ในหมวดที่ 13 มาตรา 248 โดยบัญญัติถึงหน้าที่และอำนาจขององค์กรอัยการ อิสระในการพิจารณาสั่งคดี และการปฏิบัติหน้าที่ของพนักงานอัยการ กับทั้งการบริหารงานบุคคล การงบประมาณ และการดำเนินการอื่นขององค์กรอัยการ รวมทั้งมาตรการป้องกันมิให้พนักงานอัยการกระทำหรือดำรงตำแหน่งอันอาจมีผลในการสั่งคดีหรือการปฏิบัติหน้าที่ หรืออาจทำให้มีการขัดกันแห่งผลประโยชน์

References

รวินท์ ชัยภิวัตรภักดี. (2555). หลักการสำคัญของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550 ที่มีต่อ

องค์กรอัยการและพนักงานอัยการ, วารสารกฎหมาย คณะนิติศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 30(2),

-112.

อำนาจ เนตยสุภา รวินท์ ชัยภิวัตรภักดี และธีรัช ลิมปยารยะ. (2559). คำอธิบายกฎหมายว่าด้วยองค์กร

อัยการและพนักงานอัยการ, (พิมพ์ครั้งที่ 6 แก้ไขเพิ่มเติม). กรุงเทพฯ: วิญญูชน.

โชคชัย สิทธิผลกุล และฤทธิกร ศิริประเสริฐ โชค. (2559). ระบบงานอัยการกับการอำนวยความยุติธรรมเพื่อ

รองรับการเข้าสู่ประชาคมเศรษฐกิจอาเชี่ยน (AEC). วารสารชุมชนวิจัย 10(2), 17-30.

สนธยา เครือเวทย์. (2560). การบริหารสำนักงานอัยการสูงสุดไทยกับความรับผิดชอบและตรวจสอบได้.

วารสาร มจร สังคมศาสตร์ปริทรรศน์, 6(2-04), 773-782.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2020-12-31