หลักการดำเนินคดีอาญาโดยรัฐกับการเปิดโอกาสให้ผู้เสียหายเป็นโจทก์ฟ้องคดี

ผู้แต่ง

  • ชัชชัย ยุระพันธุ์ -

คำสำคัญ:

หลักการดำเนินคดีอาญาโดยรัฐ, การฟ้องคดีอาญาโดยผู้เสียหาย, การดำเนินคดีอาญาโดยเอกชนผู้เสียหาย

บทคัดย่อ

บทความนี้ประสงค์ที่จะศึกษา การเปิดโอกาสให้ผู้เสียหายเป็นโจทก์ฟ้องคดีอาญาในประเทศไทยที่ดูเหมือนว่าจะขัดแย้งกับหลักการดำเนินคดีอาญาโดยรัฐ เปรียบเทียบกับ บทบาทของผู้เสียหายในการดำเนินคดีอาญาของ สาธารณรัฐฝรั่งเศส สหพันธ์สาธารณรัฐเยอรมนี ประเทศญี่ปุ่น และประเทศอังกฤษ ก่อนที่บทความจะนำเสนอว่า หากมีการตีความปรับใช้กฎหมายวิธีพิจารณาความอาญาที่เกี่ยวข้องกับการฟ้องคดีโดยผู้เสียหายให้สอดคล้องกับหลักการดำเนินคดีอาญาโดยรัฐ ก็จะสามารถทำให้การดำเนินคดีอาญาซึ่งส่วนใหญ่เกี่ยวข้องกับประโยชน์ต่อส่วนรวม เป็นการดำเนินคดีระหว่างรัฐกับจำเลยที่ค้นหาความจริงด้วยหลักตรวจสอบ ไม่ใช่ระหว่างผู้เสียหายกับจำเลยที่ค้นหาความจริงด้วยหลักต่อสู้ นอกจากนี้ยังทำให้เกิดผลเสมือนว่า ผู้เสียหายมีบทบาทในการเริ่มต้นให้มีการดำเนินคดีอาญาได้ หรือเริ่มต้นให้เกิดการตรวจสอบความถูกต้องของการดำเนินคดีอาญาโดยรัฐในกรณีที่มีการสั่งไม่ฟ้องคดีของพนักงานอัยการได้ เช่นเดียวกับกลุ่มประเทศที่มีการดำเนินคดีอาญาในระบบซีวิลลอว์

References

คณิต ณ นคร. (2561). กฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา. พิมพ์ครั้งที่ 9 กรุงเทพมหานคร: สำนักพิมพ์วิญญูชน. หน้า 583-586.

อุทัย อาทิเวช. (2562). ผู้เสียหาย.กรุงเทพมหานคร: สำนักพิมพ์ห้างหุ้นส่วนจำกัด วี.เจ. พริ้นติ้ง. หน้า 25-27.

ปิติโพธิวิจิตร. (2563). อิทธิพลของกฎหมายต่างประเทศต่อพัฒนาการของระบบการฟ้องคดีอาญาโดยผู้เสียหายของประเทศไทย.วารสารนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์. ปีที่ 49 ฉบับที่ 4. หน้า 705.

คณิต ณ นคร. (2561). กฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา. พิมพ์ครั้งที่ 9 กรุงเทพมหานคร: สำนักพิมพ์วิญญูชน. หน้า 91-93.

อุทัย อาทิเวช. (2557). กระบวนการยุติธรรมทางอาญาของประเทศสาธารณรัฐฝรั่งเศส.พิมพ์ครั้งที่2กรุงเทพมหานคร: สำนักพิมพ์ห้างหุ้นส่วนจำกัด วี.เจ.พริ้นติ้ง. หน้า 15.

คณิต ณ นคร. (2561). กฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา. พิมพ์ครั้งที่ 9 กรุงเทพมหานคร: สำนักพิมพ์วิญญูชน. หน้า 94-96.

ณรงค์ ใจหาญ. (2556). หลักกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา เล่ม 1.กรุงเทพมหานคร: สำนักพิมพ์วิญญูชน. หน้า 37.

คณิต ณ นคร. (2530). วิธีพิจารณาความอาญาไทย: หลักกฎหมายกับทางปฏิบัติที่ไม่ตรงกัน. วารสารนิติศาสตร์ ปีที่ 15 ฉบับที่ 3. หน้า 1-3.

อุดม รัฐอมฤต. (2555). การฟ้องคดีอาญา. บทความ จุลนิติ มี.ค.-เม.ย. หน้า 61.

สราวุธ ร่วมสมัคร. (2560). เปรียบเทียบเนื้อหาในบางหัวข้อและจัดทำข้อสรุปเบื้องต้นเพื่อนำมาใช้ในการจัดทำกรอบแนวทางปฏิรูปกระบวนการยุติธรรมทางอาญาและกระบวนพิจารณาที่เป็นธรรม.(รายงานผลการวิจัย) คณะกรรรมการปฏิรูปกฎหมาย (คปก.). หน้า 70-74.

กุลพล พลวัน. (2564). การเข้าร่วมเป็นโจทก์ในคดีอาญาและการแก้ต่างคดีอาญาในเจ้าพนักงานโดยพนักงานอัยการ. สืบค้น 26 ธันวาคม 2564 จาก http://www.stat.ago.go.th

อุทัย อาทิเวช. (2557). กระบวนการยุติธรรมทางอาญาของประเทศสาธารณรัฐฝรั่งเศส.

พิมพ์ครั้งที่2กรุงเทพมหานคร: สำนักพิมพ์ห้างหุ้นส่วนจำกัด วี.เจ.พริ้นติ้ง. หน้า 43-44.

สุรสิทธิ์ แสงวิโรจนพัฒน์. (2554). การมีส่วนร่วมของผู้เสียหายในกระบวนการพิจารณา คดีอาญาตามกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญาเยอรมัน ดุลพาห. หน้า 92-103

UNAFEI. (2011). CRIMINAL JUSTICE IN JAPAN, Book of United Nations Asia and Far East Institute for the Prevention of Crime and the Treatment of Offenders p. 23

Castberg, A. Didrick, (1997). Prosecutorial Independence in Japan, Pacific Basin

Law Journal pp.62

UNAFEI. (2011). CRIMINAL JUSTICE IN JAPAN, Book of United Nations Asia and Far East Institute for the Prevention of Crime and the Treatment of Offenders

p.23-24

SafwaanZamakda Allison. (2020)The Private Prosecutor, SSRN Electronic JournalJanuary p.25

The Crown Prosecution Service. (October 2019) Legal Guidance Private Prosecutions.สืบค้น 20 มกราคม 2565 จากhttps://www.cps.gov.uk/legalguidance/private-prosecutions

อุทิศ วีรวัฒน์. (2526). อัยการสกอตแลนด์และอัยการอังกฤษ.ระบบอัยการสากลกรุงเทพมหานคร:กองทุนสวัสดิการ ศูนย์บริการเอกสารและวิชาการ กรมอัยการ. หน้า 47.

อารยา เกษมทรัพย์. (2536). การฟ้องคดีอาญาของผู้เสียหาย: ศึกษาเฉพาะกรณีพนักงาน

อัยการมีคำสั่งไม่ฟ้อง. วิทยานิพนธ์มหาบัณฑิต คณะนิติศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. หน้า 97–99.

กุลพล พลวัน. (2564). การเข้าร่วมเป็นโจทก์ในคดีอาญาและการแก้ต่างคดีอาญาในเจ้าพนักงานโดยพนักงานอัยการ. สืบค้น 26 ธันวาคม 2564 จาก. http://www.stat.ago.go.th/

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2022-06-09