หมอกร้ายกับจังหวัดชายแดนภาคใต้

ผู้แต่ง

  • ณฐมน ทองมี คณะนิติศาสตร์มหาลัยทักษิณ

บทคัดย่อ

บทความวิชาการนี้มีวัตถุประสงค์ที่จะศึกษาสภาพปัญหาหมอกควันข้ามแดนบริเวณภาคใต้ของประเทศไทย ที่ยังประสบปัญหา หมอก ควันพิษ ที่เกิดจากการเผาไหม้จากประเทศเพื่อนบ้านมาปกคลุมบริเวณภาคใต้ของประเทศไทย เป็นผลให้ประชาชนชาวไทยได้รับอันตรายต่อสุขภาพ

ประเทศไทยมีกฎหมายที่เกี่ยวกับการควบคุมมลพิษหลายฉบับ เช่น พระราชบัญญัติส่งเสริมและรักษาสิ่งแวดล้อม พ.ศ. 2535 เมื่อมีเหตุฉุกเฉินเกี่ยวกับควันพิษหรืออากาศเสีย รัฐก็จะเข้าไปควบคุมดูแลให้
ผู้ก่อมลพิษให้หยุดกระทำการทันทีเพื่อป้องกันไม่ให้เกิดการแพร่กระจายของมลพิษและอาจเป็นอันตราย
ต่อประชาชน ซึ่งมาตรการภายในประเทศรัฐใช้กฎหมายควบคุมได้ดีแต่นอกประเทศรัฐบาลยังไม่มีมาตรการ
ที่จะหยุดยั้ง แก้ไขสถานการณ์ และเรียกร้องให้ประเทศผู้ก่อภัยชดใช้ค่าเสียหายจากการก่อมลภาวะข้ามแดน
รัฐจึงต้องหาแนวทางร่วมกับประเทศสมาชิกในกลุ่มอาเซียน ให้ประเทศผู้ก่อภัยต้องเป็นผู้รับผิดชดใช้ค่าเสียหายให้แก่ประเทศไทยด้วย เช่น คดี The Trail Smelter Case ปี 1938 ที่สหรัฐอเมริกาและแคนาดาเคยมี
ข้อพิพาทกันกรณีบริษัทถลุงโลหะที่ตั้งอยู่แคนาดาที่เมือง Trail ปล่อยมลพิษทางอากาศ กลิ่น และควันพิษ
ข้ามแดนมายังเขตของสหรัฐอเมริกา สหรัฐอเมริกาจึงฟ้องร้องเพื่อดำเนินคดีผ่านคณะอนุญาโตตุลาการและศาลยุติธรรมระหว่างประเทศ (PCIJ) สหรัฐอเมริกามีสิทธิเรียกค่าเสียหายจากการก่อมลภาวะข้ามแดน
จากประเทศแคนาดาได้ ซึ่งทำให้นานาประเทศหันมาให้ความสำคัญกับมาตรการการชดใช้ความเสียหาย
ที่เกิดขึ้น เพราะควันพิษแบบจริงจัง เพื่อหาข้อยุติ หาบทลงโทษแก่ผู้ก่อภัยและปกป้องผลประโยชน์ส่วนรวม
อีกทั้งคำนึงถึงความปลอดภัยประชาชนในประเทศ   

References

ศูนย์ข่าวภาคใต้. (2562). สถานีวิจัยมลพิษทางอากาศ ม.อ.หาดใหญ่. สืบค้น 26 ตุลาคม 2565, จาก http://airsouth.things.in.th

พิทักษ์ ศศิสุวรรณ. (2563). สภาพปัญหาการบังคับใช้กฎหมายเพื่อยุติวิกฤติหมอกควันในจังหวัดเชียงราย. ใน รศ.สมชาย ปรีชาศิลปกุล (บ.ก.), หนังสือประมวลบทความในการประชุมวิชาการนิติสังคมศาสตร์ระดับชาติ ครั้งที่ 2 หัวข้อจินตนาการใหม่ ภูมิทัศน์นิติศาสตร์ไทย (น. 52). เชียงใหม่: คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.

ปิยะขวัญ ชมชื่น. (2562). มลพิษจากควันข้ามแดนอาเซียน. สืบค้น 11 พฤศจิกายน 2565, จาก https://lawforasean.krisdika.go.th/File/filesบทความหมอกควันข้ามแดนอาเซียน%20final%20เผยแพร่(2).pdf

ศูนย์ข่าวภาคใต้. (2562). สถานีวิจัยมลพิษทางอากาศ ม.อ.หาดใหญ่. สืบค้น 26 ตุลาคม 2565, จาก http://airsouth.things.in.th

ศิริชนก วิริยเกื้อกูล. (2559). หมอกควันข้ามแดน. กรุงเทพ: สำนักวิชาการ สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร.

มงคล รายะนาคร. (2553). หมอกควันและมลพิษในจังหวัดเชียงใหม่. เชียงใหม่: สถาบันนโยบายสาธารณะมหาวิทยาลัยเชียงใหม่.

วีระยุทธ หอมชื่น. (2565). ข้อเสนอทางกฎหมายเพื่อแก้ไขปัญหามลพิษทางอากาศจากการเผาป่า. วารสารนิติ รัฐกิจ และสังคมศาสตร์ สำนักวิชานิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย, 6(2), 243-263.

สำนักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา. (2561). ประชุมคณะกรรมการด้านสิ่งแวดล้อมระดับอนุภูมิภาคว่าด้วยการป้องกันมลพิษจากหมอกควันข้ามพรมแดนในอนุภูมิภาคลุ่มน้ำโขง ครั้งที่ 7. สืบค้น 24 พฤศจิกายน 2565, จาก https://lawforasean.krisdika.go.th/Content/View?Id=482&Type=1

พัชราพร ทิมวัฒน์ และ Patcharaporn Timwat (2558). ความร่วมมือในการจัดการปัญหามลพิษจากหมอกควันของประเทศเพื่อนบ้านที่ข้ามแดนมาสู่ประเทศไทยภายใต้ข้อตกลงอาเซียนเรื่องมลพิษจากหมอกควันข้ามแดน. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.

ศิริชนก วิริยเกื้อกูล. (2559). หมอกควันข้ามแดน. กรุงเทพ: สำนักวิชาการ สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร.

New York. (2015). TRANSBOUNDARY HAZE POLLUTION. Retrieved 20January 2023, from http://legal.un.org/ilc/sessions/67/pdfs/english/poa_singapore.pdf.

ศักดิ์ณรงค์ มงคล (2558). ความยุติธรรมทางสิ่งแวดล้อม. วารสารพัฒนาสังคม.มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 17(2), 87-112.

ศฐิฒฎา ธารารัตนสุวรรณ. (2564). ปัญหาและแนวทางการแก้ไขหมอกควันและหมอกควันข้ามแดน. สืบค้น 29 กันยายน 2559, จาก https://www.senate.go.th/view/1/article_detail/เอกสารเอกสารวิชาการสำนักว/7402/TH-TH

New York. (2015). TRANSBOUNDARY HAZE POLLUTION. Retrieved 20January 2023, from http://legal.un.org/ilc/sessions/67/pdfs/english/poa_singapore.pdf.

ขวัญชนก พลพันธุ์. (2560). ปัญหาการบังคับใช้กฎหมายสิ่งแวดล้อมต่อการที่นักธุรกิจจีนมาประกอบกิจการปลูกกล้วยหอมในประเทศไทยเพื่อส่งออกไปยังประเทศจีน. สืบค้น 11 กุมภาพันธ์ 2566,, จาก http://dspace.spu.ac.th/handle/123456789/5474

วีระยุทธ หอมชื่น. (2565). ข้อเสนอทางกฎหมายเพื่อแก้ไขปัญหามลพิษทางอากาศจากการเผาป่า. วารสารนิติ รัฐกิจ และสังคมศาสตร์ สำนักวิชานิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย, 6(2), 243-263

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2023-12-29