แนวทางการพัฒนาการจัดเก็บรายได้ท้องถิ่นในยุคไทยแลนด์ 4.0 กรณีศึกษาองค์การบริหารส่วนจังหวัดชัยภูมิ
Main Article Content
บทคัดย่อ
การวิจัยนี้ มีวัตถุประสงค์ คือ 1) เพื่อศึกษาสภาพปัญหาในการจัดเก็บรายได้ขององค์การบริหารส่วนจังหวัดชัยภูมิ 2) เพื่อศึกษาแนวทางการพัฒนาการจัดเก็บรายได้ท้องถิ่นในยุคไทยแลนด์ 4.0 ขององค์การบริหารส่วนจังหวัดชัยภูมิ และ 3) เพื่อให้ได้ข้อเสนอแนะเชิงนโยบายแก่ผู้บริหารระดับสูงขององค์การบริหารส่วนจังหวัดชัยภูมิ เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูลเป็นแบบสอบถาม เก็บข้อมูล จำนวน 270 คน และแบบสัมภาษณ์ ผู้ให้ข้อมูล จำนวน 20 คน วิเคราะห์ข้อมูลโดยการแจกแจงความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานและการวิเคราะห์เนื้อหา
Article Details
บท
Research Articles
References
กรมสรรพากร กระทรวงการคลัง, (2558), “การปรับปรุงวิธีการจัดสรรรายได้ประเภทภาษีมูลค่าเพิ่มให้แก่องค์การบริหารส่วนจังหวัด ให้เกิดความเป็นธรรม โดยการใช้ข้อมูลจัดทำรายงานภาษีซื้อและภาษีขายของภาษีมูลค่าเพิ่มด้วยระบบอิเล็กทรอนิกส์และให้ภาคประชาชนมีส่วนร่วมในการจัดสรร”, รายงานวิจัยกรมสรรพากร กระทรวงการคลัง.
โกวิทย์ พวงงาม, (2550), “การปกครองท้องถิ่นไทย”, เอกสารประกอบการเรียนการสอน วิชาการเมืองการปกครองส่วนท้องถิ่นไทย หลักสูตรรัฐประศาสนศาสตรบัณฑิต สาขาการปกครองท้องถิ่น, กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์เอ็กซ์เปอร์เน็ท.
ดิเรก ปัทมสิริวัฒน์, (2550), “การวิจัยนโยบายสาธารณะ : ประเมินกองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่นในระดับพื้นที่”, กรุงเทพฯ : สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข.
บุญชม ศรีสะอาด, (2556), “วิธีการทางสถิติสำหรับการวิจัย เล่ม 1”, พิมพ์ครั้งที่ 5, กรุงทพฯ : สุวีริยาสาส์น.
ประพาฬ วงศ์สุบิน, (2558), “ปัจจัยที่มีผลต่อประสิทธิภาพการจัดเก็บภาษีขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น : การศึกษาเปรียบเทียบระหว่างองค์การบริหารส่วนตําบล ในเขตอำเภอแกลง จังหวัดระยอง”, วิทยานิพนธ์รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต, บัณฑิตวิทยาลัย : มหาวิทยาลัยราชภัฏรําไพพรรณี.
มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, (2547),“การบริหารท้องถิ่น”, เอกสารประกอบการสอนชุดวิชาการบริหารท้องถิ่น, นนทบุรีฯ : โรงพิมพ์มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.
รวิวรรณ อินทรวิชา, (2560), “การศึกษาการจัดเก็บภาษีท้องถิ่นในเขตเทศบาลเมือง จังหวัดมหาสารคาม”, วารสารการเมืองการปกครอง, 7(2) : 249-269.
วาสนา เมธาวรากุล, (2559), “ปัจจัยที่มีผลกระทบต่อการจัดเก็บภาษีบำรุงท้องถิ่นของเจ้าหน้าที่องค์การ บริหารส่วนตำบล กรณีศึกษาองค์การบริหารส่วนตำบลหนองปลิง อำเภอหนองแค จังหวัดสระบุรี”,วิทยานิพนธ์รัฐศาสตรมหาบัณฑิต(การเมืองการปกครอง),บัณฑิตวิทยาลัย : มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.
ศิริพงศ์ พฤทธิพันธุ์, (2553), “ระเบียบวิธีวิจัยสำหรับธุรกิจ”, พิมพ์ครั้งที่ 3, กรุงเทพฯ : ฮาซันพริ้นติ้ง.
สุรศักดิ์ โตประสีและจิตราภรณ์ สุทธิวรเศรษฐ์ , (2561), “ประสิทธิภาพในการบริหารการจัดเก็บภาษีของเทศบาลบางเสาธง จังหวัดสมุทรปราการ”, วารสารมหาวิทยาลัยปทุมธานี, 10(2) : 161-169.
Cronbach, L. J, (1990), “Essentials of psychological testing”, 5th ed., New York : Harper Collins Publishers.
Krejcie, R. V. & Morgan, D. W, (1970), “Determining Sample Size for Research Activities”. Educational and Psychological Measurement.
Likert, R, (1976), “New Patterns of Management”, New York : McGraw - Hill.
Rovinelli, R.J., & Hambleton, R.K, (1977), “On the use of content specialists in the assessment of criterion-referenced test item validity”. Dutch Journal of Educational Research.
โกวิทย์ พวงงาม, (2550), “การปกครองท้องถิ่นไทย”, เอกสารประกอบการเรียนการสอน วิชาการเมืองการปกครองส่วนท้องถิ่นไทย หลักสูตรรัฐประศาสนศาสตรบัณฑิต สาขาการปกครองท้องถิ่น, กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์เอ็กซ์เปอร์เน็ท.
ดิเรก ปัทมสิริวัฒน์, (2550), “การวิจัยนโยบายสาธารณะ : ประเมินกองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่นในระดับพื้นที่”, กรุงเทพฯ : สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข.
บุญชม ศรีสะอาด, (2556), “วิธีการทางสถิติสำหรับการวิจัย เล่ม 1”, พิมพ์ครั้งที่ 5, กรุงทพฯ : สุวีริยาสาส์น.
ประพาฬ วงศ์สุบิน, (2558), “ปัจจัยที่มีผลต่อประสิทธิภาพการจัดเก็บภาษีขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น : การศึกษาเปรียบเทียบระหว่างองค์การบริหารส่วนตําบล ในเขตอำเภอแกลง จังหวัดระยอง”, วิทยานิพนธ์รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต, บัณฑิตวิทยาลัย : มหาวิทยาลัยราชภัฏรําไพพรรณี.
มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, (2547),“การบริหารท้องถิ่น”, เอกสารประกอบการสอนชุดวิชาการบริหารท้องถิ่น, นนทบุรีฯ : โรงพิมพ์มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.
รวิวรรณ อินทรวิชา, (2560), “การศึกษาการจัดเก็บภาษีท้องถิ่นในเขตเทศบาลเมือง จังหวัดมหาสารคาม”, วารสารการเมืองการปกครอง, 7(2) : 249-269.
วาสนา เมธาวรากุล, (2559), “ปัจจัยที่มีผลกระทบต่อการจัดเก็บภาษีบำรุงท้องถิ่นของเจ้าหน้าที่องค์การ บริหารส่วนตำบล กรณีศึกษาองค์การบริหารส่วนตำบลหนองปลิง อำเภอหนองแค จังหวัดสระบุรี”,วิทยานิพนธ์รัฐศาสตรมหาบัณฑิต(การเมืองการปกครอง),บัณฑิตวิทยาลัย : มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.
ศิริพงศ์ พฤทธิพันธุ์, (2553), “ระเบียบวิธีวิจัยสำหรับธุรกิจ”, พิมพ์ครั้งที่ 3, กรุงเทพฯ : ฮาซันพริ้นติ้ง.
สุรศักดิ์ โตประสีและจิตราภรณ์ สุทธิวรเศรษฐ์ , (2561), “ประสิทธิภาพในการบริหารการจัดเก็บภาษีของเทศบาลบางเสาธง จังหวัดสมุทรปราการ”, วารสารมหาวิทยาลัยปทุมธานี, 10(2) : 161-169.
Cronbach, L. J, (1990), “Essentials of psychological testing”, 5th ed., New York : Harper Collins Publishers.
Krejcie, R. V. & Morgan, D. W, (1970), “Determining Sample Size for Research Activities”. Educational and Psychological Measurement.
Likert, R, (1976), “New Patterns of Management”, New York : McGraw - Hill.
Rovinelli, R.J., & Hambleton, R.K, (1977), “On the use of content specialists in the assessment of criterion-referenced test item validity”. Dutch Journal of Educational Research.