การสร้างเครือข่ายการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม อำเภอเชียงคาน จังหวัดเลย และเมืองหลวงพระบาง สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว
Main Article Content
บทคัดย่อ
การวิจัยครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาวิเคราะห์ศักยภาพการสร้างเครือข่ายการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม อำเภอเชียงคาน จังหวัดเลย และเมืองหลวงพระบางสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว 2) ศึกษากระบวนการส่งเสริมการสร้างเครือข่ายการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม และ 3) สังเคราะห์ / พัฒนาการสร้างเครือข่ายการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม อำเภอเชียงคาน จังหวัดเลย และเมืองหลวงพระบางสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว โดยใช้ระเบียบวิจัยเชิงคุณภาพ (Qualitative Research)
Article Details
บท
Research Articles
References
เกรียงศักดิ์ เจริญวงศ์ศักดิ์, (2555). การจัดการเครือข่าย : กลยุทธ์สำคัญสู่ความสำเร็จของการปฏิรูปการศึกษาวารสารการบริหารและพัฒนา มหาวิทยาลัยมหาสารคาม. ปีที่ 4 ฉบับที่ 1 มกราคม-เมษายน พ.ศ.2555. 192-207.
กระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา, (2560). แผนพัฒนาการท่องเที่ยวแห่งชาติฉบับที่ 2 (พ.ศ.2560-2564). กรุงเทพมหานคร: สำนักงานปลัดกระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา.
พระมหาชาญชัย โชติญาณพล, (2559). อัตลักษณ์วัดไทยในพระพุทธศาสนา ความคิดเห็นและความพึงพอใจของนักท่องเที่ยวที่มีผลต่อการท่องเที่ยวซ้ำของนักท่องเที่ยวต่างชาติ. วารสารศรีปทุมปริทัศน์ ฉบับมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ ปีที่ 16 ฉบับที่ 1, 107-118.
พระมหาสุทิตย์ อาภากโร และสายชล ปัญญชิต, (2556). รูปแบบของเครือข่ายการเรียนรู้ทางสังคมในการท่องเที่ยวทางพระพุทธศาสนา. วารสารสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ. ปีที่ 16 ( ม.ค.-ธ.ค. 2556 ) หน้า 115-127.
สมัคร ถะเกิงสุข, (2545). สภาพปัญหาและแนวทางการจัดการท่องเที่ยว : ศึกษากรณีเกาะเสม็ด ตำบลเพ อำเภอเมือง จังหวัดระยอง. มหาวิทยาลัยบูรพา: ชลบุรี,
บุญเลิศ จิตตั้งวัฒนา และคณะ, (2557). การพัฒนาการท่องเที่ยวแบบยั่งยืน, กรุงเทพมหานคร : ศูนย์หนังสือแห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
Gee, C. Y. and Choy. J. L. (1989). The Travel Industy. New York: Van Nostrand.
กระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา, (2560). แผนพัฒนาการท่องเที่ยวแห่งชาติฉบับที่ 2 (พ.ศ.2560-2564). กรุงเทพมหานคร: สำนักงานปลัดกระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา.
พระมหาชาญชัย โชติญาณพล, (2559). อัตลักษณ์วัดไทยในพระพุทธศาสนา ความคิดเห็นและความพึงพอใจของนักท่องเที่ยวที่มีผลต่อการท่องเที่ยวซ้ำของนักท่องเที่ยวต่างชาติ. วารสารศรีปทุมปริทัศน์ ฉบับมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ ปีที่ 16 ฉบับที่ 1, 107-118.
พระมหาสุทิตย์ อาภากโร และสายชล ปัญญชิต, (2556). รูปแบบของเครือข่ายการเรียนรู้ทางสังคมในการท่องเที่ยวทางพระพุทธศาสนา. วารสารสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ. ปีที่ 16 ( ม.ค.-ธ.ค. 2556 ) หน้า 115-127.
สมัคร ถะเกิงสุข, (2545). สภาพปัญหาและแนวทางการจัดการท่องเที่ยว : ศึกษากรณีเกาะเสม็ด ตำบลเพ อำเภอเมือง จังหวัดระยอง. มหาวิทยาลัยบูรพา: ชลบุรี,
บุญเลิศ จิตตั้งวัฒนา และคณะ, (2557). การพัฒนาการท่องเที่ยวแบบยั่งยืน, กรุงเทพมหานคร : ศูนย์หนังสือแห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
Gee, C. Y. and Choy. J. L. (1989). The Travel Industy. New York: Van Nostrand.