ทักษะของผู้บริหารกับความเป็นเลิศของโรงเรียนเอกชน

Main Article Content

จงดี เพชรสังคูณ
จุฬาพรรณภรณ์ ธนะแพทย์

บทคัดย่อ

การจัดการศึกษาในยุคปฏิรูปการศึกษาจะประสบความสำเร็จหรือไม่นั้น ตัวแปรที่สำคัญที่สุดก็คือ ผู้บริหารสถานศึกษา ซึ่งจะต้องเรียนรู้เพื่อการเปลี่ยนแปลงและเป็นผู้นำที่ดี มีทักษะความเป็นผู้นำ 5 ทักษะ คือ ทักษะด้านความคิดรวบยอด ทักษะทางด้านมนุษย์สัมพันธ์ ทักษะทางด้านเทคนิค ทักษะด้านความรู้ความคิดและทักษะด้านการศึกษาและการสอน นอกจากนี้ ผู้บริหารสถานศึกษาควรมีปัญญา มีความรู้ความสามารถและใช้การวิจัยเพื่อการบริหารและจัดการเพื่อปรับปรุงคุณภาพผลการปฏิบัติงานของโรงเรียนให้มีประสิทธิภาพและเกิดประสิทธิผล การบรรลุเป้าหมายด้านคุณภาพของผู้เรียนจึงต้องอาศัยองค์ประกอบที่สำคัญที่สุดก็คือ ภาวะผู้นำของผู้บริหารสถานศึกษา ผู้บริหารสถานศึกษาที่มีภาวะผู้นำสูงคือกุญแจสำคัญของการปฏิรูปการศึกษาที่ยั่งยืนและเพื่อความเป็นเลิศของสถานศึกษา

Article Details

บท
Review Articles
Author Biography

จุฬาพรรณภรณ์ ธนะแพทย์, Mahachulalongkornrajavidyalaya University, Khon Kaen Campus, Thailand

Mahachulalongkornrajavidyalaya University, Khon Kaen Campus, Thailand

References

กวี วงศ์พุฒ. (2542). ภาวะผู้นำ. พิมพ์ครั้งที่ 5. กรุงเทพฯ: บี. เค. อินเตอร์ปริ้น.

จันทรานี สงวนนาม. (2545). ทฤษฎีและแนวปฏิบัติในการบริหารสถานศึกษา (Theory and Practice in Educational Institution). กรุงเทพฯ: บุ๊ค พอยท์.

บุญช่วย สายราม. (2560).“การวิเคราะห์แบบภาวะผู้นำของผู้บริหารสถานศึกษาจังหวัดปทุมธานี สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาปทุมธานี”, Veridian E-Journal, Silpakorn University. 10(1): 1467-1476.

ปรียาพร วงศ์อนุตรโรจน์. (2546). การบริหารงานวิชาการในสถานศึกษา. กรุงเทพฯ: เท็กซ์ แอนด์ เจอร์นัล พับบลิเคชั่น.

แพรดาว สนองผัน. (2557). ทักษะของบริหารสถาบันศึกษาในศตวรรษที่ 21 สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาอุดรธานี เขต 3. บัณฑิตวิทยาลัย:มหาวิทยาลัยขอนแก่น.

สมกิต บุญยะโพธิ์. (2555). รูปแบบการบริหารสถานศึกษาขั้นพื้นฐานสังกัดสํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสู่ความเป็นเลิศ. บัณฑิตวิทยาลัย :มหาวิทยาลัยศิลปากร.

สมบัติ โฆษิตวานิช. (2553). ความหมายของทักษะการบริหารงาน. สืบค้นเมื่อ 6 มีนาคม 2563, จาก http://thsis.swu.ac.th/swuthesis/Ed_Adm/Supaporn_R.pdf

สมพร เพชรวงค์. (2548, สิงหาคม-กรกฎาคม).“กระบวนทัศน์ใหม่ของโรงเรียนสู่ชุมชน”, วารสารข้าราชการครู. 18: 27-30.

สมยศ นาวีการ. (2540). การบริหารและพฤติกรรมองค์การ เรื่องการจูงใจ: จากแนวความคิดไปสู่การประยุกต์ใช้. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์บรรณกิจ.

สมหวัง พิธิยานุวัฒน์. (2553). ข้อเสนอเชิงนโยบายการปฏิรูปวิชาชีพครูตามพระราชบัญญัติการประถมศึกษาแห่งชาติ. กรุงเทพฯ: สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาแห่งชาติ, สํานักนายกรัฐมนตรี.

เสริมศักดิ์ วิศาลาภรณ์. (2539). การวิจัยเกี่ยวกับผู้บริหาร. ในประมวลชุดวิชาการวิจัยและการบริหารการศึกษา หน่วย 8-9. นนทบุรี: มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.

Drake, T. L.; & Roe, H. W. (1986). The Principal ship. 3rd ed. New York: MacMillan.

Katz, R. L. (1971). Skills of an Effective Administrator, Harvard Business Review, Executive Success Making It in Management. Massachusetts: University Press Cambridge.

Paisey, A. (1992). Organization and Management in Schools Perspectives for Practicing Teachers and Governors. 2nd ed. London: Longman.

Sitterly, C. (1993). The Woman Manager: How to Develop Essential Skills for Success. London: Kogan