ความน่าเชื่อถือไว้วางใจอาจารย์ตามความคาดหวังของนักศึกษาพยาบาล ในมหาวิทยาลัยเอกชน

Main Article Content

เพ็ญจันทร์ แสนประสาน
สุจินตนา พันธุ์กล้า
อุบล ชุ่มจินดา
สิรินดา ศรีจงใจ
วิเนตรา แน่นหนา

บทคัดย่อ

การวิจัยนี้เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ เพื่อศึกษาความน่าเชื่อถือและไว้วางใจของอาจารย์ ตามความคาดหวังของนักศึกษาพยาบาลในมหาวิทยาลัยเอกชน โดยการสัมภาษณ์เชิงลึก ถึงสภาพปัจจุบันและความคาดหวังต่อความน่าเชื่อถือและไว้วางใจของอาจารย์จากนักศึกษาจำนวน 367 คนสุ่มตัวอย่างจากนักศึกษาทุกชั้นปี แบ่งเป็นกลุ่ม 4 กลุ่ม ๆ ละ 4-6 คน จากนักศึกษาทุกชั้นปีในมหาวิทยาลัยเอกชนจนได้ข้อมูลอิ่มตัว ได้กลุ่มตัวอย่างจำนวน จำนวน 61 คน เก็บข้อมูลโดยกลุ่มสนทนา และการสัมภาษณ์เชิงลึก วิเคราะห์ข้อมูลโดยการวิเคราะห์เชิงเนื้อหา  (content Analysis) ผลการวิจัย พบว่า สภาพปัจจุบัน ความน่าเชื่อถือและไว้วางใจของอาจารย์อยู่ในระดับดีถึงดีมากทั้ง 4 ด้าน ของทุกชั้นปี แต่มีโอกาสพัฒนาบางประเด็น เช่น การจัดการเรียนการสอน พฤติกรรมและการสร้างแรงจูงใจ และความคาดหวังของนักศึกษาพยาบาลต่อความน่าเชื่อถือและไว้วางใจของอาจารย์ในมหาวิทยาลัยเอกชนด้านต่าง ๆ จากการวิเคราะห์และการจัดกลุ่มองค์ประกอบหลัก (Themes) 5 ข้อ มีองค์ประกอบย่อย (Element) 18 ข้อ ได้แก่ 1) ความรู้เนื้อหาและทักษะการสอน เช่น ความรู้เนื้อหาและกระบวนการเรียนการสอน ความรู้ทักษะการสอนงาน และนิเทศงานในคลินิก การประเมินผลการเรียนรู้ 2) ด้านบุคลิกภาพ เช่น อ่อนโยนสุภาพ พูดจาไพเราะ การแต่งกายเหมาะสม มารยาทสังคมดี คิดบวก ซื่อสัตย์ตรงไปตรงมา 3) ด้านสัมพันธภาพ เช่น เอื้ออาทรเอาใจใส่ ยุติธรรมไม่ลำเอียง ไม่เห็นแก่ตัว เสมอภาคให้เกียรติ 4) ด้านภาวะผู้นำ เช่น สร้างแรงจูงใจ เป็นแบบอย่างรับผิดชอบเข้าใจผู้อื่น และ 5) ด้านวิสัยทัศน์ เช่น ความรู้ทันสมัย ปรับตัวตามสากล


 

Article Details

บท
Research Articles
Author Biographies

สุจินตนา พันธุ์กล้า, มหาวิทยาลัยชินวัตร, ประเทศไทย Shinawatra University, Thailand.

Shinawatra University, Thailand.

อุบล ชุ่มจินดา, มหาวิทยาลัยชินวัตร, ประเทศไทย Shinawatra University, Thailand.

มหาวิทยาลัยชินวัตร, ประเทศไทย

Shinawatra University, Thailand

สิรินดา ศรีจงใจ, มหาวิทยาลัยชินวัตร, ประเทศไทย Shinawatra University, Thailand.

 

มหาวิทยาลัยชินวัตร, ประเทศไทย

Shinawatra University, Thailand.

วิเนตรา แน่นหนา, มหาวิทยาลัยชินวัตร, ประเทศไทย Shinawatra University, Thailand.

มหาวิทยาลัยชินวัตร, ประเทศไทย

Shinawatra University, Thailand.

 

References

ชมนาด ฉางวัง. (2554). ความไว้วางใจในองค์การ พฤติกรรมการเป็นสมาชิกที่ดีขององค์การ

กับผลการปฏิบัติงานของพยาบาลวิชาชีพในโรงพยาบาลจังหวัดนครนายก.

กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์,

ชุติมา มาลัย. (2550). ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อพฤติกรรมการเป็นสมาชิกที่ดีขององค์การของ

อาจารย์วิทยาลัย พยาบาล สังกัดกระทรวงสาธารณสุข. บัณฑิตวิทยาลัย :

มหาวิทยาลัยศิลปากร.

ณัฏฐ์ชุดา วิจิตรจามรี. (2558). การสื่อสารในองค์การ. พิมพ์ครั้งที่ 3. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์

มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.

เปรมฤดี ศรีวิชัยและพิมพิมล วงศ์ไชยา. (2555). ความสัมพันธ์ระหว่างความรู้สึกเป็นส่วน

หนึ่งความเครียดและภาวะซึมเศร้าของนักศึกษาหลักสูตรพยาบาลศาสตรบัณฑิต ชั้นปีที่ 1 วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี พะเยา.วารสารสภาการพยาบาล, 27(4), 57.

ผจงจิต ไกรถาวร. (2557). ความรู้สึกเป็นส่วนหนึ่งของชุมชนและการรับรู้สภาพสิ่งแวดล้อม

ละแวกบ้านของผู้สูงอายุไทยที่อาศัยอยู่ในชุมชนแออัดเขตกรุงเทพมหานคร. รามาธิบดีพยาบาลสาร, 19(1), 143-156.

วารุณี มีเจริญและศักดิ์มงคล เชื้อทอง. (2555). พฤติกรรมเอื้ออาทรในการปฏิบัติการ

พยาบาลของผู้สำเร็จการศึกษาหลักสูตรพยาบาลศาสตรบัณฑิต วิทยาลัยในสังกัดกระทรวงสาธารณสุข. วารสารสมาคมพยาบาลแห่งประเทศไทย, 61(3).

Acosta, Mg.H, Salanova, M., & Llorens, S. (2012). How organizational practices

predict team work engagement: The role of organization trust. Ciencia & Trabajo, 14(Special issues), 1-10

Borman, W.C., & Motowidlo, S.J. (1997). Human performance organizational citizenship behavior and contextual performance. Mahwah, NJ: Lawrence Erlbaum Associates.

Caballero, R.J., & Krishhamurthy, A. (2010). Integrated risk management in the

flight to quality. The Journal of Finance, 63(5), 2195-2230.

Calnan, N., & Rowe, R. (2004). Trust in healthcare: an agenda for future

research. (discussion paper) Nuffield Trust Seminar on 17 November.

Cook, J., & Wall, T. (1980). MRC social and applied psychology unit

department of Psychology The University Sheffield. Retrieved from

https://bpspsychub.onlinelibrary.wiley.com/doi/10.1111/j.2044-8325.1980.tb00005.x

Covey, S.M.R. (2018). The speed of trust: the one thing that changes

everything. Retrieved from https://resources.franklincovey.com/mkt-olv1/22-stephen-m-r-covey

Dunn, S.V., & Burnnett, P. (1995). The development of a clinical learning

environment scale. Journal of Advanced Nursing, 22. 1166-1173.

Keith, F. (2012). How to build trust in a virtual work place. Retrieved

September 29, 2012 from http://blogs.hbr.org/cs/2012/10/how_to_ build_trust_in_virtual.html

Lindop, E. (1987). Factor associated with student and pupil nurse wastage.

Journal of Advanced Nursing, 12(6), 751-756.

Organ, D.W., & Bateman, T.S. (1991). Psychology: organization behavior. New

York: Irwin.

Saunders, M.N.K., Skinner, D. Dietz, G., Gillespie, N. & Lewicki, R.S. (2010).

Organizational trust a cultural perspective. (1st ed). Cambridge: Cambridge University Press.

Shaw, J.M., Chambless, M.S., & Chessin, D.A. (1977). Cooperative problem

solving: using K-W-D-L as an organization technique. Retrieved April 23, 2009, from http://vnweb.hwwilsonweb.com/hww/results/results_single_ftPES,