ความรู้และพฤติกรรมการคิดวิเคราะห์ของนักศึกษา ในรายวิชาระเบียบวิธีวิจัยทางรัฐประศาสนศาสตร์

Main Article Content

อติพร เกิดเรือง
ไชยวัฒน์ ค้ำชู

บทคัดย่อ

การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความรู้และพฤติกรรมการคิดวิเคราะห์ของนักศึกษาในรายวิชาระเบียบวิธีวิจัยทางรัฐประศาสนศาสตร์ กลุ่มเป้าหมาย คือ นักศึกษาระดับปริญญาตรีชั้นปีที่ 3 และปีที่ 4 สถาบันรัฐประศาสนศาสตร์และธรรมาภิบาล มหาวิทยาลัยชินวัตร ที่ได้ศึกษาวิชาระเบียบวิธีวิจัยทางรัฐประศาสนศาสตร์ จำนวน 65 คน เครื่องมือที่ใช้ประกอบด้วย แบบวัดการคิดวิเคราะห์และแบบสัมภาษณ์ โดยใช้สถิตพรรณนาและการวิเคราะห์เนื้อหา ผลการวิจัยพบว่า นักศึกษามีความรู้และพฤติกรรมโดยรวมอยู่ในระดับมากทุกด้าน โดยเรียงลำดับดังนี้ ด้านการกำหนดปัญหาการวิจัย ด้านการการศึกษาเอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้องและด้านการรวบรวมข้อมูล ตามลำดับ ผลจากการสัมภาษณ์พบว่า การทำวิจัยในชั้นเรียนทำให้นักศึกษาเกิดความรู้ความเข้าใจมากขึ้น เพราะนักศึกษาจะช่วยกันคิดและสามารถสอบถามอาจารย์ประจำชั้นได้ทันที่เมื่อมีข้อสงสัย ซึ่งในชั้นเรียนนักศึกษาสามารถพัฒนาทักษะกระบวนการคิดในการเรียนทุกครั้งและสิ่งเหล่านี้ทำให้เกิดการพัฒนาการคิดวิเคราะห์ให้เกิดขึ้นได้อย่างเหมาะสมและต่อเนื่องดังนั้นจึงควรส่งเสริมให้นักศึกษามีโอกาสได้ฝึกความคิดและฝึกปฏิบัติ ให้ได้เรียนรู้วิธีจัดระบบความคิดและวิธีเสาะแสวงหาความรู้ด้วยตนเอง ทำให้ความรู้คงทนและถ่ายโยงจากการเรียนรู้นำไปประยุกต์ใช้ในด้านอื่นๆ ได้


 

Article Details

บท
Research Articles
Author Biography

ไชยวัฒน์ ค้ำชู, Shinawatra University

Shinawatra University

References

ณัฏฐพงษ์ เจริญทิพย์. (2542). การพัฒนาความคิดสร้างสรรค์ทางวิทยาศาสตร์: ทัศนะแบบ
องค์รวม. กรุงเทพฯ: เลิฟแอนด์ลิพเพลส.
ดิลก ดิลกานนท์. (2534). การฝึกทักษะการคิดเพื่อส่งเสริมความคิดสร้างสรรค์. บัณฑิต
วิทยาลัย : มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.
ทิศนา แขมมณี. (2554).“ทักษะการคิดวิเคราะห์ สังเคราะห์ สร้างสรรค์และการคิดอย่างมี
วิจารณญาณ: การบูรณาการในการจัดการเรียนรู้”. วารสารราชบัณฑิตยสถาน 36(2): 188-204.

สุวณี อึ่งวรากร. (2558). ครู: อภิวัฒน์การเรียนรู้สู่คุณภาพการศึกษาในศตวรรษที่ 21.
วารสารเครือข่ายวิทยาลัยพยาบาลและการสาธารณสุขภาคใต้, 2(1): 65-78.
สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ สำนักนายกรัฐมนตรี, 2560
www.library.coj.go.th/Info/48340
Alligood, R. M. (2010). Nursing Theory Utilization & Application. (4th ed).
Missouri: Mosby/ Elsevier.
Dillon, J.T. 1984. Research on Questioning and Discussion. Educational
Leadership, 42 (3), 50-56 : November.
Nisan, M. (1985). Motivation : Academic. The International Encyclopedia of
Education. 6: 3430-3434.
Sternberg, Robert T. (1986). Intelligence Applied: Understanding and
Increasing Your Intellectual Skills. Washington, D.C.: Harcourt Brace
Jovanovich.
Ron, B. (2008). Powerful Learning. (Online). Retrieved January 6, 2008, from http://www.wera-web.org/pages/activities/brandt.php/.
Sara, M. (2009). Instructional Design. (Online). Retrieved January 15, 2009, from http://edutechwiki.unige.ch/en/ Instrucstional_design/.
Smith and Lynch (2010). Rethinking Teacher Education:Teacher Education
in the Knowledge Age. Sydney:AACLM Press
Takington, S.A. (1989). Improving Critical Thinking Skills Using Paideia Seminars
in a seven-Grade Literature Curriculum. Doctoral Dissertation. University of San Diego.