การบริหารงานวิทยาลัยอาชีวศึกษาของผู้บริหารสถานศึกษา

Main Article Content

เกรียงไกร ปัญญาประเสริฐกุล
จุฬาพรรณภรณ์ ธนะแพทย์

บทคัดย่อ

 ผู้บริหาร ครู คณะกรรมการสถานศึกษาและผู้เรียน ควรได้รับการอบรมเพื่อพัฒนาตนเองให้มีความรู้ในเรื่องบทบาทการมีส่วนร่วมในการจัดการศึกษาให้มีความรู้ที่จะสามารถร่วมแสดงความคิดเห็นและทำงานร่วมกับบุคลากรในโรงเรียนได้อย่างมีประสิทธิภาพ นอกจากนี้ ผู้บริหารอาชีวศึกษาต้องมีความรับผิดชอบในชื่อเสียงและความเจริญก้าวหน้าขององค์กร มีการวางแผนกลยุทธ์และวิสัยทัศน์สําหรับอนาคต ด้วยผู้บริหารเป็นผู้นำที่มีผลกระทบทั้งทางตรงและทางอ้อมต่อผลการเรียนและสังคมของผู้เรียน ดังนั้น ผู้บริหารสถานศึกษาต้องช่วยให้เกิดการสอนอย่างเยี่ยมยอดในทุกห้องเรียน การตระหนักถึงปัจจัยที่ส่งผลต่อประสิทธิผลทางการศึกษาของอาชีวศึกษาจึงเป็นเรื่องสําคัญ  เพื่อช่วยส่งเสริมให้การบริหารจัดการอาชีวศึกษามีคุณภาพ มีประสิทธิภาพ และช่วยผู้เรียนให้มีสมรรถนะสอดคล้องกับความต้องการของตลาดแรงงานในภาคอุตสาหกรรม ชุมชน ประชาคมอาเซียนและโลก

Article Details

บท
Articles
Author Biography

จุฬาพรรณภรณ์ ธนะแพทย์, Mahachulalongkornrajavidyalaya University, Khon Kaen Compus

Mahachulalongkornrajavidyalaya University, Khon Kaen Compus

References

กระทรวงศึกษาธิการ. (2555). นโยบายและยุทธศาตร์การพัฒนาการศึกษาของกระทรวงศึกษาธิการ พ.ศ. 2555-2558. กรุงเทพฯ: ชุมนุมสหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย.
กฤษมันต์ วัฒนาณรงค์. (2553). สมรรถนะวิชาชีพ. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ.
เกรียงศักดิ์ เจริญวงศ์ศักดิ์. (2562). เรียนให้รู้: ใช้ข้อมูลอย่างผู้ชนะ. พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ: ซัคเซส มีเดีย.
ชัยพฤกษ์ เสรีรักษ์. (2555). การพัฒนาอาชีวศึกษาเพื่อผลิตและพัฒนากําลังคนให้สอดคล้องกับความต้องการของตลาดแรงงานและรองรับประชาคมอาเซียน. (เอกสารประกอบการ ประชุมผู้บริหารสถานศึกษา วันที่ 14-16 เดือนพฤศจิกายน พ.ศ. 2555 ณ วิทยาลัยเทคนิคเชียงราย).
เดลินิวส์. (2557, 20 มกราคม). วีเน็ตสะท้อนอาชีวะ 308 แห่ง ต้องปรับปรุงเร่งด่วน. สืบค้นเมื่อ 28 มีนาคม 2563, จาก http://www.dailynews.co.th/Content/education/210111
นพดล สุตันติวณิชย์กุล. (2557). การศึกษาความพร้อมด้านเทคโนโลยีของสถานศึกษาอาชีวศึกษาไทยเพื่อรองรับการเป็นประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน. กรุงเทพฯ: สํานักพิมพ์มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์.
ไพฑูรย์ สินลารัตน์, สร้อยสน สกลรักษ์ และ ศรเนตร อารีโสภณพิเชษฐ์. (2555). รายงานการวิจัย เรื่อง นโยบายและยุทธศาสตร์การพัฒนาคุณภาพการศึกษาของประเทศสมาชิกองค์กรระดับนานาชาติ. กรุงเทพฯ: สํานักงานเลขาธิการสภาการศึกษา.
วราภรณ์ สามโกเศศและคนอื่นๆ. (2553). ข้อเสนอทางเลือกระบบการศึกษาที่เหมาะสมกับสุขภาวะคนไทย. กรุงเทพฯ: สํานักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ.
วันทิตา โพธิสาร, สมคิด สร้อยน้ำ และเรวณี ชัยเชาวรัตน์. (2563, มกราคม - เมษายน). “การบริหารสถานศึกษาอาชีวศึกษาสู่ความเป็นเลิศ: การศึกษาทฤษฎีฐานราก”, ว.มรม. 14(1): 127-138.
สถาบันทดสอบทางการศึกษาแห่งชาติ (องค์การมหาชน). (2555). รายงานผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติด้านอาชีวศึกษา (V-NET) ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ ปีการศึกษา 2554. กรุงเทพฯ: สถาบันฯ.
สํานักงานเลขาธิการสภาการศึกษา. (2553). การบรรยายทางวิชาการเพื่อสร้างความตระหนักเรื่อง การก้าวสู่ประชาคมอาเซียน. กรุงเทพฯ: กลุ่มยุทธศาสตร์ความร่วมมือระหว่างประเทศ, สํานักงานเลขาธิการสภาการศึกษา.
สํานักงานเลขาธิการสภาการศึกษา. (2554). นโยบายและยุทธศาสตร์การปฏิรูปการศึกษาในทศวรรษที่สองด้านการพัฒนาอาชีวศึกษา. กรุงเทพฯ: สํานักงานเลขาธิการสภาการศึกษา.
______. (2555). รายงานการวิจัยแนวทางการส่งเสริมการเพิ่มสัดส่วนผู้เรียนระดับ มัธยมศึกษาตอนปลายสายอาชีพตามเป้าหมายในแผนการศึกษาแห่งชาติ ฉบับปรับปรุง (พ.ศ. 2552-2559). กรุงเทพฯ: สํานักงานเลขาธิการสภาการศึกษา.
______. (2556). รายงานการติดตามและประเมินผลการจัดการศึกษาตามนโยบายด้านการศึกษาของรัฐบาล ประจําปี 2555. กรุงเทพฯ: สํานักงานเลขาธิการสภาการศึกษา.
______. (2562). รายงานความก้าวหน้าการจัดการเรียนรู้ ระดับการศึกษาขั้นพื้นฐานปี 2561-2562. กรุงเทพฯ: สํานักงานเลขาธิการสภาการศึกษา.
สํานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา. (2555). นโยบาย เป้าหมาย ยุทธศาสตร์การผลิตและพัฒนากําลังคนอาชีวศึกษาสู่สากล พ.ศ. 2555-2569. กรุงเทพฯ: สํานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา.
สํานักมาตรฐานการอาชีวศึกษาและวิชาชีพ. (2562). มาตรฐานการอาชีวศึกษา พ.ศ. 2555 เพื่อการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา. กรุงเทพฯ: สํานักมาตรฐานการอาชีวศึกษาและวิชาชีพ สํานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา.
เสน่ห์ จุ้ยโต. (2552). วิสัยทัศน์และกลยุทธ์ผู้นํายุคใหม่. นนทบุรี: มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.
อร่ามศรี อาภาอดุล และคนอื่นๆ. (2555). รายงานการวิจัยเรื่องมาตรฐานวิชาชีพครูการอาชีวศึกษา. กรุงเทพฯ: สํานักงานเลขาธิการคุรุสภา.
อาคม เติมพิทยาไพสิฐ. (2552). การศึกษากับการพัฒนาประเทศ. กรุงเทพฯ: สํานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ.
Barlow, R. M. (1974, June). “An Experimental with Learning Contracts”, The Journal of High Education. 45: 441-449.
Creemers, B. P. M. & Kyriakides, L. (2012). Improving Quality in Education: Dynamic Approaches to School Improvement. London and New York: Routledge.
Darling-Hammond, L. (2010). New Policies for 21st Century Demands. Interviewed by James Bellanca. In 21st century skills: Rethinking How Students Learn. Editors: James Bellanca and Ron Brandt. Bloomington: Solution Tree Press.
Johnson, D. W. & Johnson, R. T. (2010). Cooperative Learning and Conflict Resolution: Essential 21st Century Skills. In 21st Century Skills: Rethinking How Students Learn. Editors: James Bellanca and Ron Brandt. Bloomington: Solution Tree Press.
Parker, E. L. (2008). Factors that Contribute to a Successful Secondary Vocational Education Program in the State of Mississippi. Dissertation, Ph.D. (Educational Leadership and School Counseling). Mississippi: The University of Southern Mississippi.
Sihono, T. & Yusof, R. (2012). “Implementation of School Based Management in Creating Effective Schools”, International Journal of Independent Research and Studies. 1(4): 142-152.
Summers, M. D. (2001). “The Role of Leadership in Successful Vocational Initiatives”, New Directions for Community Colleges. 115(Fall): 17-25.
The ASEAN Secretariat. (2009). ASEAN Socio-Cultural Community Blueprint. Jakarta: Public Outreach and Civil Society Division,The ASEAN Secretariat.
Volmari, K., Helahorpi, S. & Frimodt, R. (2009). Competence Framework for VET Professions: Handbook for Practitioners. Helsinki: Finnish National Board of Education.
Robinson, V. M. J., Lloyd, C. A. & Rowe, K. J. (2013). The Impact of Leadership on Student Outcomes: An Analysis of the Differential Effects of Leadership Types. In Leading Professional Practice in Education. Edited by Christine Wise; Pete Bradshaw; & Marion Cartwright. London: SAGE.