มนุษยสัมพันธ์ในการบริหารเชิงพุทธ
Main Article Content
บทคัดย่อ
มนุษยสัมพันธ์ในการบริหารเชิงพุทธ เป็นทักษะที่สำคัญต่อระบบการบริหารการศึกษา เพราะเป็นคุณลักษณะที่บ่งบอกความเป็นนักบริหารมืออาชีพ จากการศึกษาความหมาย ความสำคัญของหลักมนุษยสัมพันธ์ และหลักธรรมในการสร้างมนุษยสัมพันธ์ตามแนวพระพุทธศาสนา หลักธรรมที่เกี่ยวข้องมีหลายหมวด สำหรับในที่นี้นำเสนอเพียงหมวดเดียว คือ หลักสังคหวัตถุ 4 อันเป็นธรรมเครื่องยึดเหนี่ยวน้ำใจคน ประสานคนให้เกิดความสามัคคีมีน้ำใจต่อกัน ก่อให้เกิดความสุข ความร่วมมือต่อกัน ผู้บริหาร ครู บุคลากรทางการศึกษา ควรยึดเป็นหลักในการปฏิบัติหน้าที่อย่างต่อเนื่อง ย่อมเป็นผู้สมควรได้รับการยอมรับ และการยกย่องว่า “ปูชนียบุคคล”
Article Details
บท
Articles
References
สุทธิพงษ์ ศรีวิชัย.(2560), ทักษะการบริหารมนุษยสัมพันธ์ตามแนวพุทธ. บัณฑิตวิทยาลัย :
มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.
พระธรรมโกศาจารย์ (ประยูร ธมฺมจิตฺโต). (2549), พุทธวิธีบริหาร. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์
มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.
พระราชวรมุนี (ประยุทธ์ ปยุตฺโต). (2528), การศึกษา : เครื่องมือพัฒนาที่ยังต้องพัฒนา.
พิมพ์ลักษณ์ มูลนิธิพุทธธรรม.
ราชบัณฑิตยสถาน. (2525), พจนานุกรม. กรุงเทพฯ : อักษรเจริญทัศน์.
มาริษา สุจิตวนิช.(2560), เอกสารประกอบการสอนวิชามนุษยสัมพันธ์. สาขาวิชานิเทศ
ศาสตร์ คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐม
http://thethanika.blogspot.com/2020/09/blog-post_24.html
มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.
พระธรรมโกศาจารย์ (ประยูร ธมฺมจิตฺโต). (2549), พุทธวิธีบริหาร. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์
มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.
พระราชวรมุนี (ประยุทธ์ ปยุตฺโต). (2528), การศึกษา : เครื่องมือพัฒนาที่ยังต้องพัฒนา.
พิมพ์ลักษณ์ มูลนิธิพุทธธรรม.
ราชบัณฑิตยสถาน. (2525), พจนานุกรม. กรุงเทพฯ : อักษรเจริญทัศน์.
มาริษา สุจิตวนิช.(2560), เอกสารประกอบการสอนวิชามนุษยสัมพันธ์. สาขาวิชานิเทศ
ศาสตร์ คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐม
http://thethanika.blogspot.com/2020/09/blog-post_24.html