การบริหารจัดการโบราณสถานในวัดเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน

Main Article Content

พระมหามงคลกานต์ ฐิตธมฺโม
จารุพร อมรพงศ์ชัย
อาภรณ์รัตน์ เลิศไผ่รอด

บทคัดย่อ

การศึกษาครั้งเพื่อทราบถึงแนวทางการบริหารจัดการโบราณสถานที่ตั้งอยู่ในอาณาบริเวณวัดซึ่งถือได้ว่าโบราณสถานเป็นทรัพยากรล้ำค่าที่ผสมผสานมิติด้านประวัติศาสตร์และวัฒนธรรมความเป็นมาของชุมชนอันเป็นแหล่งเรียนรู้ในการสงวนอนุรักษ์โบราณสถานเป็นมรดกที่สืบทอดไปถึงคนรุ่นต่อไปเพื่อให้เกิดประโยชน์ทั้งกับชุมชน สังคมและประเทศชาติ การดำเนินงานใดๆก็ตามที่เกี่ยวกับโบราณสถานยังคงมีปัญหาเนื่องจากได้รับความสนใจไม่มาก ไม่มีการให้ความสนใจหรือให้ความสำคัญอย่างเพียงพอทำให้ขาดความรู้ความเข้าใจในการดูแลรักษาพัฒนาและการบริหารจัดการอย่างเหมาะสม


          สำหรับการบริหารจัดการโบราณสถานส่วนใหญ่ถูกกำหนดให้อยู่ในการดูแลของทางภาครัฐ คือ กรมศิลปากร จึงไม่อาจดำเนินการได้อย่างเต็มที่และทั่วถึงเพราะจำกัดอยู่เฉพาะโบราณสถานขนาดใหญ่และเป็นที่รู้จักกันอย่างแพร่หลายเท่านั้น แต่โบราณสถานในวัดตามต่างจังหวัดซึ่งเป็นพื้นที่ห่างไกลจึงอาจถูกละเลยและเริ่มมีความเสื่อมสภาพไปตามกาลเวลาหากไม่มีการบริหารจัดการ ทำนุบำรุง ตลอดจนพัฒนาให้เป็นแหล่งเรียนรู้อันทรงคุณค่าที่แสดงถึงการเชื่อมโยงเรื่องราวอันน่าสนใจในวัฒนธรรมดั้งเดิมและการค้นคว้าประวัติศาสตร์ย่อมเป็นสิ่งน่าเสียดายเป็นอย่างยิ่ง

Article Details

บท
Articles
Author Biographies

จารุพร อมรพงศ์ชัย, Mahachulalongkornrajavidyalaya University

Mahachulalongkornrajavidyalaya University

อาภรณ์รัตน์ เลิศไผ่รอด, วิทยาลัยเทคโนโลยีพนมวันท์

วิทยาลัยเทคโนโลยีพนมวันท์

References

กรมการศาสนา, (2540). “คู่มือพระสังฆาธิการ ว่าด้วยเรื่องการคณะสงฆ์และการพระ

ศาสนา”,กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพ์การศาสนา.

กรมการศาสนา, (2546) วัดพัฒนา 46, กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพ์การศาสนา

กรมการศาสนา,(2542.)คู่มือพระสังฆาธิการว่าด้วยพระราชบัญญัติ กฎ ระเบียบ และคำสั่ง

ของคณะสงฆ์, กรุงเทพมหานคร : กองแผนงาน กรมการศาสนา.

ประเวศ วะสี,(2539.)“พระสงฆ์กับการรู้เท่าทันสังคม” ในหลักการบริหารจัดการวัดในยุค

โลกาภิวัตน์, กรุงเทพมหานคร : สำนักงานสภาสถาบันราชภัฏ.

พิสิฐ เจริญวงษ์,(2550.),การอนุรักษ์โบราณสถานและโบราณวัตถุ, กรุงเทพมหานคร :

ม.ป.ท.

พระศรีปริยัติโมลี (พระมหาสมชัย กุสลจิตฺโต),(2543)การเมืองมิใช่เรื่องของสงฆ์,

กรุงเทพมหานคร : เรือนแก้วการพิมพ์.

นางโสมสุดา ลียะวณิช,(2553).อธิบดีกรมศิลปากร เปิดเผยข้อมูลในหนังสือพิมพ์ข่าวสด,

สืบค้นจาก www.lockfinger.com, (เมื่อวันที่ 16 มิ.ย. 2554).

Wikipedia The Free Encyclopedia. McKinsey 7s Framework. [online]. Source :

https://en.wikipedia.org/wiki/McKinsey_7S_Framework. [March 16. 2020].