การจัดการเรียนรู้ภาษาอังกฤษสำหรับนิสิตระดับปริญญาตรี ในยุค NEW NORMAL
Main Article Content
บทคัดย่อ
บทความนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อนำเสนอแนวคิดและแนวทางการจัดการเรียนรู้ภาษาอังกฤษสำหรับนิสิตระดับปริญญาตรีในยุค New Normal โดยการนำหลักการแนวคิดที่สำคัญ คือ 1) แนวคิดการสอนน้อยเรียนมาก (Teach Less Learn More) 2) อินเทอร์แอคทีฟมัลติมีเดีย (Interactive Multimedia) 3) กระบวนการเรียนรู้ภาษา (Language learning process) 4) คอนสตรัคติวิสต์ (Constructivist) มาผสมผสานและจัดการเรียนรู้ร่วมกับแนวคิดการสอนภาษาเพื่อการสื่อสารอันเป็นการช่วยเสริมในส่วนที่เป็นข้อจำกัดของการสอนภาษาเพื่อการสื่อสารโดยนำมาเป็นกรอบแนวคิดพื้นฐานในการพัฒนารูปแบบการจัดการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศแบบใหม่ที่สามารถส่งเสริมความสามารถในการใช้ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสารให้กับนิสิตให้มีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น
Article Details
บท
Articles
References
กระทรวงศึกษาธิการ. (2551). หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551.
กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์องค์การรับส่งสินค้าและพัสดุภัณฑ์.
เวชฤทธิ์ อังกนะภัทรขจร. (2555).การจัดการเรียนการรู้แบบบูรณาการ.วารสารศึกษาศาสตร์,
ปีที่ 23 ฉบับที่ 1 เดือนตุลาคม 2554 - มกราคม 2555.
สุภัทรา อักษรานุเคราะห์. (2532). การสอนทักษะทางภาษาและวัฒนธรรม. กรุงเทพฯ:
สำนักพิมพ์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
สุมิตรา อังวัฒนกุล. (2540). กิจกรรมการสอนภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร. กรุงเทพฯ:
สำนักพิมพ์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
อารีย์ ปรีดีกุล.(2558). การพัฒนารูปแบบการจัดการเรียนรู้โดยใช้หลักการสอนน้อยเรียนมาก
TLLM เป็นฐานเพื่อส่งเสริมความสามารถในการใช้ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสารใน
ประชาคม ASEANสำหรับนักศึกษาระดับอุดมศึกษา.รายงานสืบเนื่องจากการ
สัมมนาวิชาการนำเสนองานวิจัยระดับชาติและนานาชาติ (Proceedings) เครือข่าย
บัณฑิตศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฏภาคเหนือ ครั้งที่ 15 วันที่ 23 กรกฎาคม 2558,
มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์.
Horwitz, (1993).The Beliefs about Language Learningof Beginning University
Foreign Language students. The Modern Language Journal, 72(4).
P21 (2007). The Intellectual and Policy Foundations of the 21st Century Skills Framework.Online,https://www.scirp.org/(S(351jmbntvnsjt1aadkposzje))
/reference/ReferencesPapers.aspx?ReferenceID=1412321
Noughton, John, Microsoft makes face book a club you don’t want to join.
Online, http://www.guardian.co.uk/business,2007)
Raimes, A. (1987). Techniques in Teaching Writing. Oxford: Oxford University
Press.
Smith, P.L. and Regan, T.I.,(2005).Instructional Design. New Jersey: John Wiley
& S ens,Inc.
กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์องค์การรับส่งสินค้าและพัสดุภัณฑ์.
เวชฤทธิ์ อังกนะภัทรขจร. (2555).การจัดการเรียนการรู้แบบบูรณาการ.วารสารศึกษาศาสตร์,
ปีที่ 23 ฉบับที่ 1 เดือนตุลาคม 2554 - มกราคม 2555.
สุภัทรา อักษรานุเคราะห์. (2532). การสอนทักษะทางภาษาและวัฒนธรรม. กรุงเทพฯ:
สำนักพิมพ์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
สุมิตรา อังวัฒนกุล. (2540). กิจกรรมการสอนภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร. กรุงเทพฯ:
สำนักพิมพ์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
อารีย์ ปรีดีกุล.(2558). การพัฒนารูปแบบการจัดการเรียนรู้โดยใช้หลักการสอนน้อยเรียนมาก
TLLM เป็นฐานเพื่อส่งเสริมความสามารถในการใช้ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสารใน
ประชาคม ASEANสำหรับนักศึกษาระดับอุดมศึกษา.รายงานสืบเนื่องจากการ
สัมมนาวิชาการนำเสนองานวิจัยระดับชาติและนานาชาติ (Proceedings) เครือข่าย
บัณฑิตศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฏภาคเหนือ ครั้งที่ 15 วันที่ 23 กรกฎาคม 2558,
มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์.
Horwitz, (1993).The Beliefs about Language Learningof Beginning University
Foreign Language students. The Modern Language Journal, 72(4).
P21 (2007). The Intellectual and Policy Foundations of the 21st Century Skills Framework.Online,https://www.scirp.org/(S(351jmbntvnsjt1aadkposzje))
/reference/ReferencesPapers.aspx?ReferenceID=1412321
Noughton, John, Microsoft makes face book a club you don’t want to join.
Online, http://www.guardian.co.uk/business,2007)
Raimes, A. (1987). Techniques in Teaching Writing. Oxford: Oxford University
Press.
Smith, P.L. and Regan, T.I.,(2005).Instructional Design. New Jersey: John Wiley
& S ens,Inc.