มิติของการสร้างมนุษยสัมพันธ์ในองค์การ

Main Article Content

จำนงค์ นามมา
จักรี ศรีจารุเมธีญาณ

บทคัดย่อ

มนุษยสัมพันธ์เป็นเรื่องราวที่ว่าด้วยพฤติกรรมของบุคคลที่มาเกี่ยวข้องกันในการทำงานในองค์กรหรือหน่วยงาน เพื่อให้การทำงานดำเนินไปได้อย่างราบรื่น ความสำคัญของมนุษยสัมพันธ์ในการทำงานก็คือ สร้างความเข้าใจอันดีและความสามัคคีก่อให้เกิดความรักใคร่และความสำเร็จในการทำงานร่วมกัน เป็นปัจจัยที่ช่วยเพิ่มผลผลิต และเป็นเครื่องมือช่วยในการแก้ปัญหาและขจัดความขัดแย้งภายในหน่วยงานหรือองค์กร


มิติการสร้างมนุษยสัมพันธ์ในองค์กร ควรใช้หลักปฏิบัติที่ว่าเมื่อเราต้องการสิ่งใด ผู้อื่นก็มีความต้องการสิ่งนั้นเช่นกัน ส่วนในด้านจิตใจก็ให้ยึดหลักที่ว่าเอาใจเขามาใส่ใจเราโดยมนุษยสัมพันธ์นั้นเกี่ยวข้องศาสตร์สาขาต่างๆเช่น วิทยาศาสตร์การแพทย์ จิตวิทยา จิตวิเคราะห์และความแตกต่างระหว่างบุคคลในองค์กรนอกจากจะมีคนหลากหลายแล้วระบบการบริหารงานก็ยังทำให้มีผู้คนหลายระดับด้วยเช่นกัน ดังนั้นมิติการสร้างความสัมพันธ์ก็ย่อมแตกต่างกันไปด้วย

Article Details

บท
Articles
Author Biography

จักรี ศรีจารุเมธีญาณ, Mahamakut Buddhist University Isan Campus

Mahamakut Buddhist University Isan Campus

References

จักรี ศรีจารุเมธีญาณ. (2563). ความรู้เบื้องต้นทางรัฐประศาสนศาสตร์. พิมพ์ครั้งที่ 1. ขอนแก่น : คลังนานา
วิทยา.
ราชบัณฑิตยสถาน. (2554). ความหมายของมนุษยสัมพัธ์. กรุงเทพฯ: นานมีบุ๊ค.
วินิจ เกตุขำ. (2535). มนุษยสัมพันธ์สำหรับผู้บริหารยุคใหม่. พิมพ์ครั้งที่ 1. กรุงเทพฯ : โอ.เอส.พริ้นติ้ง เฮ้าส์.
พรรณราย ทรัพยะประภา. (2548). จิตวิทยาประยุกต์ในชีวิตและในการทำงาน. กรุงเทพฯ : พรนเรศวร์,
ลักขณา สิริวัฒน์. (2556). “ความหมายและความสำคัญของมนุษยสัมพันธ์” พิมพ์ครั้งที่ 1. กรุงเทพฯ :
O.S.ปริ้นติ้ง เฮ้าส์.
ระวัง เนตรโพธิ์แก้ว. (2542). มนุษยสัมพันธ์ในองค์การ. พิมพ์ครั้งที่ 1 . กรุงเทพ ฯ : พิทักษ์อักษร.
บุษบง ธัยมาตร. (2560). การสร้างมนุษยสัมพันธ์ในหน่วยงาน. วารสาร มจร สังคมศาสตร์ปริทรรศน์ ปีที่ 6
ฉบับที่ 2 (ฉบับพิเศษ) เมษายน-มิถุนายน.
สุรางค์ มันยานนท์. (2542). เอกสารประกอบการสอนวิชามนุษยสัมพันธ์. ราชบุรี : มหาวิทยาลัยราชภัฏ
หมู่บ้านจอมบึง.