การพัฒนาทักษะการคิดวิเคราะห์ของเด็กปฐมวัยอายุ 5- 6 ปี ด้วยการจัด ประสบการณ์แบบมอนเตสซอรี่

Main Article Content

มุนินทร์ นวลเนตร
นนทชนนปภพ ปาลินทร
เจริญวิชญ์ สมพงษ์ธรรม
รุจิรัตน์ บวรธรรมศักด
ดวงฤทัย คำพะรัก

บทคัดย่อ

การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ 1. เพื่อศึกษาทักษะการคิดวิเคราะห์ของเด็กปฐมวัยอายุ
5 – 6 ปีจากการจัดประสบการณ์แบบมอนเตสซอรี่2.เพื่อเปรียบเทียบการจัดประสบการณ์
แบบมอนเตสซอรี่ของเด็กปฐมวัยอายุ 5 – 6 ปีจากการจัดประสบการณ์ระหว่างก่อนเรียนและหลัง
เรียน กลุ่มตัวอย่างได้แก่นักเรียนชั้นอนุบาลปีที่ 3 ที่มีอายุ 5 – 6 ปีในสังกัดส านักงานเขตพื้นที่
การศึกษาประถมศึกษาอุบลราชธานีโรงเรียนบ้านนามึน ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2563 นักเรียน
จ านวน 15 คน โดยใช้วิธีการสุ่มแบบกลุ่ม เครื่องมือที่ใช้ในการศึกษาค้นคว้าได้แก่ แผนการจัด
ประสบการณ์แบบมอนเตสซอรี่ จ านวน 4 แผน แบบประเมินการวัดการคิดวิเคราะห์ของเด็กปฐมวัย
ชั้นอนุบาลปีที่ 3 แบบทดสอบที่มีค าถามเป็นรูปภาพแบบเลือกตอบ 2 ตัวเลือก จ านวน 2 ชุด

ชุดที่ 1 ความสามารถการคิดวิเคราะห์ ด้านการจัดหมวดหมู่จ านวน 15 ข้อและชุดที่ 2 ด้านการหา
ความสัมพันธ์จ านวน 15 ข้อ สถิติที่ใช้ได้แก่ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานและการทดสอบค่า
(t-test)แบบ Dependent Sample
ผลการวิจัยพบว่า
1. ผลการจัดประสบการณ์แบบมอนเตสซอรี่ของเด็กปฐมวัยอายุ 5 – 6 ปี เพื่อทักษะ
การคิดวิเคราะห์ โรงเรียนในสังกัดส านักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาอุบลราชธานีดังนี้
1.1 ด้านการจัดหมวดหมู่อยู่ในระดับดี
1.2 ด้านการหาความสัมพันธ์ อยู่ในระดับดี
2. ผลสัมฤทธิ์การจัดประสบการณ์แบบมอนเตสซอรี่ ทักษะการคิดวิเคราะห์ของเด็กปฐมวัย
อายุ 5 – 6 ปีจากการจัดประสบการณ์หลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียน อย่างมีนัยส าคัญทางสถิติ
ที่ระดับ .05

Article Details

บท
Research Articles
Author Biographies

นนทชนนปภพ ปาลินทร, Ratchathani University

Ratchathani University

เจริญวิชญ์ สมพงษ์ธรรม, Ratchathani University

Ratchathani University

รุจิรัตน์ บวรธรรมศักด, Ratchathani University

Ratchathani University

ดวงฤทัย คำพะรัก, Ratchathani University

Ratchathani University

References

เกรียงศักดิ์เจริญ วงศ์ศักด. ิ์(2546). ภาพอนาคตและคุณลักษณะของคนไทยที่พึงประสงค์.
กรุงเทพฯ : ส านักงานคณะกรรมการการศึกษาแห่งชาติ.
กระทรวงศึกษาธิการ. (2546). แนวทางการน ามาตรฐานหลักสูตรไปสู่การออกแบบการจัด
การเรียนรู้และการวัดประเมินผลตามสภาพจริง. กรุงเทพฯ : ผู้แต่ง.
จีระพันธุ์ พูลพัฒน์. (2549). การจัดการเรียนการสอนส าหรับเด็กปฐมวัย: ตามแนวคิดของ
มอนเตสซอรี่. กรุงเทพฯ: สาขาวิชาการศึกษาปฐมวัย ภาควิชาหลักสูตรการสอนและ
เทคโนโลยีการศึกษา คณะครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
ฉัตรมงคล สวนกัน. (2555). การพัฒนาทักษะการคิดวิเคราะห์ของเด็กปฐมวัยโดย
การจัดประสบการณ์ด้วยเกมการศึกษา. วิทยานิพนธ์ ค.ม. สกลนคร: มหาวิทยาลัยราชภัฏ
สกลนคร.
นภเนตร ธรรมบวร. (2546).หลักสูตรการศึกษาปฐมวัย.กรุงเทพฯ: ส านักพิมพจุฬาลงกรณ
มหาวิทยาลัย.
ปรียาวาท น้อยคล้อย.(2533).ทักษะในการคิดวิเคราะห์ของเด็กปฐมวัยที่ได้รับการจัดกิจกรรม
การเล่นเกมการศึกษาประกอบภาพ.ปริญญานิพนธ์ การศึกษามหาบัณฑิต(การศึกษา
ปฐมวัย) กรุงเทพฯ:บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.ถ่ายเอกสาร.
ประพันธ์ศิริ สุเสารัจ. (2551). การพัฒนาการคิด. กรุงเทพฯ : 9119 เทคนิคพริ้นติง.
พัชรี นันท์ดี. (2553). การวิจัยเชิงปฏิบัติการแบบมีส่วนร่วมเพื่อพัฒนาทักษะพื้นฐานทาง
คณิตศาสตร์ของนักเรียนชั้นอนุบาลปีที่ 2 โรงเรียนบ้านแดงใหญ่(ราษฎร์คุรุวิทยาคาร)12
อ าเภอเมือง จังหวัดขอนแก่น โดยใช้เกมการศึกษา.วิทยานิพนธ์ครุศาสตรมหาบัณฑิต
มหาวิทยาลัยราชภัฏเลย.
มินดา วงศ์วิชิต. ( 2543).พฤติกรรมทางสังคมของเด็กวัยอนุบาล :กรณีศึกษาโรงเรียนอนุบาลที่ใช้
วิธีการของมอนเตสซอรี่. วิทยานิพนธ์ ค.ม. (การศึกษาปฐมวัย). กรุงเทพ ฯ:คณะ
ครุศาสตร์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.ถ่ายเอกสาร.
ลดาวรรณ ดีสม.(2546). การพัฒนาทักษะพื้นฐานทางวิทยาศาสตร์ของเด็กปฐมวัยโดยใช้กิจกรรม
การเรียนแบบต่อภาพ.ปริญญานิพนธ์ กศ.ม กรุงเทพฯ:บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัย
ศรีนครินทรวิโรฒ.ถ่ายเอกสาร.
สุมาลี หมวดไธสง. (2554). ความสามารถในการคิดวิเคราะห์ของเด็กปฐมวัยที่ได้รับการจัด
กิจกรรมกระบวนการทางวิทยาศาสตร์นอกห้องเรียน. ปริญญานิพนธ์ กศ.ม. กรุงเทพฯ:
มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.
ส านักงานวิชาการและมาตรฐานการศึกษา. (2556). คู่มือแผนการจัดประสบการเรียนรู้คละชั้น
ระดับปฐมวัยในโรงเรียนขนาดเล็กตามแนวทางมอนเทสซอริ.กรุงเทพฯ:หจก.ริมปิง
การพิมพ์.
อารมณ์ สุวรรณปาล. (2551). การจัดประสบการณ์ส าหรับเด็กปฐมวัย หน่วยที่ 7-10.
(พิมพ์ครั้งที่ 2). นนทบุรี: มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมมาธิราช