การสร้างหนังสืออ่านเพิ่มเติมเรื่อง การประเมินพัฒนาการทางภาษา ของเด็กปฐมวัย ระดับปริญญาตรี มหาวิทยาลัยราชภัฏศรีสะเกษ

Main Article Content

อภิรดี ไชยกาล

บทคัดย่อ

การวิจัยในครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1)  เพื่อสร้างหนังสืออ่านเพิ่มเติมเรื่อง การประเมินพัฒนาการทางภาษาของเด็กปฐมวัย ระดับปริญญาตรี มหาวิทยาลัยราชภัฏศรีสะเกษ และ 2)  เพื่อตรวจสอบคุณภาพหนังสืออ่านเพิ่มเติมเรื่อง การประเมินพัฒนาการทางภาษาของเด็กปฐมวัย ระดับปริญญาตรี มหาวิทยาลัยราชภัฏศรีสะเกษ ผลการวิจัย พบว่า 1) หนังสืออ่านเพิ่มเติมเรื่อง การประเมินพัฒนาการทางภาษาของเด็กปฐมวัย ระดับปริญญาตรี มหาวิทยาลัยราชภัฏศรีสะเกษ ประกอบด้วยเนื้อหา 3 บท ได้แก่ บทที่ 1  พัฒนาการทางภาษาของเด็กปฐมวัย      บทที่ 2  แนวคิดในการประเมินพัฒนาการทางภาษาของเด็กปฐมวัย บทที่ 3 วิธีการประเมินพัฒนาการทางภาษาของเด็กปฐมวัย 2) ผลการประเมินคุณภาพของหนังสืออ่านเพิ่มเติมเรื่อง เรื่อง การประเมินพัฒนาการทางภาษาของเด็กปฐมวัย เป็นหนังสือที่ใช้อ่านประกอบการเรียนการสอนสำหรับนักศึกษาระดับปริญญาตรี โดยใช้แบบสอบถามผู้ทรงคุณวุฒิมีความเห็นสอดคล้องกันว่าหนังสืออ่านเพิ่มเติมมีความถูกต้องเหมาะสมด้านเนื้อหา และด้านภาษาและภาพประกอบ โดยมีค่าดัชนีความสอดคล้องเท่ากับ .97 เท่ากัน

Article Details

บท
Research Articles

References

คณะกรรมการการประถมศึกษาแห่งชาติ. (2539). การปฏิรูปการศึกษาสำนักงาน คณะกรรมการการประถมศึกษาแห่งชาติ. กรุงเทพฯ: คุรุสภาลาดพร้าว.
จันทรา ทองสมัคร. (2541). การสร้างหนังสืออ่านเพิ่มเติมเรื่อง ประเพณีท้องถิ่น
นครศรีธรรมราช สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น จังหวัดนครศรีธรรมราช.
สาขาวิชาศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช
จินตนา ใบกาซูยี. (2540), เทคนิคการเขียนหนังสือสำหรับเด็ก, กรุงเทพฯ :คุรุสภาลาดพร้าว.
เจนวิทย์ อุสสวิโร. (2548). การสร้างหนังสืออ่านเพิ่มเติมเรื่อง สโตย สู่สตูล. สาขาวิชา
ศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช

ชำนาญ เหล่ารักผล. (2553). การพัฒนายุทธศาสตร์การจัดการความรู้สำหรับโรงเรียนใน
เครือมูลนิธิคณะเซนต์คาเบรียลแห่งประเทศไทย. บัณฑิตวิทยาลัย :จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
นารีรัตน์ อยู่กิจติชัย. (2520). การวิเคราะห์หนังสืออ่านเพิ่มเติม หมวดวิชาสังคมศึกษา ชั้น
ประถมศึกษาตอนปลาย.วิทยานิพนธ์ปริญญาการศึกษามหาบัณฑิต บัณฑิต วิทยาลัย มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.
สมพร จารุณัฏ. (2540). คู่มือการเขียนเรื่องบันเทิงคดีและสารคดีสำหรับเด็ก.
กรุงเทพมหานคร: คุรุสภาลาดพร้าว.
สมหวัง พิธิยานุวัฒน์ และคณะ. (2542). ใบอนุญาตประกอบวิชาชีพครู. กรุงเทพมหานคร: ที.
พี. พริ้น.
สภาสถาบันราชภัฏ. (2546). เอกสารสารหลักสูตรการศึกษาปฐมวัย ระดับปริญญาตรี.
กรุงเทพฯ : สํานักงานสภาสถาบันราชภัฏ.
อรพินท์ เมืองชมพู. (2546). การพัฒนาหนังสืออ่านเพิ่มเติมเรื่อง ย้อนรอยประเพณีที่ภูกาม
ยาว สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 1โรงเรียนบ้านไร่อ้อย จังหวัดพะเยาว์ สาขาวิชาศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.