พระสอนศีลธรรมในโรงเรียนกับการพัฒนาความเป็นพลเมือง

Main Article Content

สุรศักดิ์ อุดเมืองเพีย
ธนาธิป ศรีโท
กิตติยานนท์ วรรณวงศ์
สมควร นามสีฐาน

บทคัดย่อ

พระสอนศีลธรรมในโรงเรียนมีบทบาทสำคัญโดยเป็นผู้สอนหลักธรรมทางศาสนากับปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงเพื่อปลูกฝังคุณธรรมจริยธรรมส่งเสริมให้เด็กและเยาวชนมีความรู้ความเข้าใจความสำคัญของธรรมะ เพื่อนำไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวัน การจัดกิจกรรมเสริมหลักสูตรและวันสำคัญทางศาสนา นำนักเรียน ครู ผู้ปกครองเข้าร่วมกิจกรรมในวันสำคัญของชาติ เพื่อสร้างความสามัคคีปรองดองของคนในชาติ ครูพระสอนศีลธรรมเป็นผู้สอนประจำโครงการศูนย์ศึกษาพระพุทธศาสนาวันอาทิตย์ อบรมและเป็นกรรมการคุมสอบหลักสูตรธรรมศึกษาในสถานศึกษาและสถานบันอื่นทั้งภาครัฐและเอกชนที่เป็นสนามสอบธรรมศึกษา ให้ความช่วยเหลือสงเคราะห์และบำเพ็ญสาธารณะประโยชน์แก่โรงเรียนและชุมชน ปลูกฝังความเป็นพลเมืองตามระบอบประชาธิปไตย ตลอดจนเป็นผู้นำในการอนุรักษ์วัฒนธรรมและประเพณีไทยให้คงอยู่ตลอดไป

Article Details

บท
Articles
Author Biographies

ธนาธิป ศรีโท, มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย วิทยาเขตอีสาน

Mahamakut Buddhist University, Isan Campus

กิตติยานนท์ วรรณวงศ์, มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย วิทยาเขตอีสาน

Mahamakut Buddhist University, Isan Campus

สมควร นามสีฐาน, คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาเขตขอนแก่น

Mahachulalongkornrajavidyalaya University

References

กระทรวงศึกษาธิการ. (2544).การจัดสาระการเรียนรู้พระพุทธศาสนา : กลุ่มสาระการเรียนรู้
สังคม ศึกษาศาสนาและวัฒนธรรมตามหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน.
กรุงเทพฯ : องค์การรับส่งสินค้าและพัสดุภัณฑ์.
กรมการศาสนา.(2533). ประวัติศาสตร์พระพุทธศาสนา. พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ :
ฝ่ายวิชาการกองศาสนศึกษา กรมการศาสนา
กรมศาสนา,กระทรวงวัฒนธรรม.(2550).แผนพัฒนาส่งเสริมคุณธรรมเสริมสร้างความ
สมานฉันท์ตามปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงสู่สังคมอยู่เย็นเป็นสุข พุทธศักราช
2551.กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์ชุมนุมการเกษตรแห่งประเทศไทย จำกัด.
พระจันที จิตฺตสํวโร (คอน).(2555). บทบาทของพระสอนศีลธรรมในการพัฒนาคุณธรรม
จริยธรรมในระดับมัธยมศึกษา อำเภอเมืองนครปฐม จังหวัดนครปฐม. บัณฑิต
วิทยาลัย : มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.
พระธรรมปิฎก (ป.อ.ปยุตฺโต). (2536). สถานการณ์พระพุทธศาสนาพลิกหายนะเป็นพัฒนา.
กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์การศาสนา.
พระมหาหรรษา ธมฺมหาโส.(2557). แนวโน้มบทบาทพระสงฆ์กับการเมืองไทยในสอง
ทศวรรษหน้า (2556-2576). ออนไลน์,http://mcupress.mcu.ac.th.
พระราชวรมุนี (ประยุทธ์ปยุตฺโต). (2529). การศึกษาของคณะสงฆ์ : ปัญหาที่รอทางออก.
กรุงเทพฯ: สํานักพิมพ์มูลนิธิโกมลคีมทอง.
วัฒนา พัฒนพงษ์. (2526). พระสงฆ์กับบทบาททางการศึกษา. กรุงเทพฯ : สถาบันบัณฑิต
พัฒนาบริหารศาสตร์.
สำนักงานพระพุทธศาสนาแห่งชาติ.(2561). คู่มือปฎิบัติงานโรงเรียนปริยัติธรรม แผนกสามัญ.
พิมพ์ครั้งที่ 5. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์สำนักงานพระพุทธศาสนาแห่งชาติ.
สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร.(2556). พื้นฐานความเป็นพลเมืองในระบอบ
ประชาธิปไตย. กรุงเทพฯ : สำนักการพิมพ์ สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร
สํานักส่งเสริมวิชาการและงานทะเบียน,มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์, (2557).คู่มือการ
จัดระบบการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสําคัญ. ปทุมธานี : ศูนย์การเรียนรู้
การผลิตและจัดการธุรกิจสิ่งพิมพ์ดิจิทัล. มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์.