การบริหารสถานศึกษาตามหลักพุทธธรรมาภิบาล

Main Article Content

พระเดวิศณ์ สุขถาวโร
ประจิตร มหาหิง
จุฬาพรรณภรณ์ ธนะแพทย์

บทคัดย่อ

การบริหารสถานศึกษามีลักษณะงานตามโครงสร้างของการจัดองค์กรตามระบบการศึกษาและตามแนวคิดของนักบริหารการศึกษาแต่ละคน ผู้บริหารสถานศึกษาจึงถือว่าเป็นทรัพยากรที่สำคัญต่อการบริหารจัดการ สามารถนำหลักการ และกระบวนการทางการบริหารมาประยุกต์ใช้โดยเริ่มจากการวางแผน การจัดองค์การในสถานศึกษา การบริหารงานบุคคล การอำนวยการ การติดต่อประสานงาน การติดสินใจ การรายงานผลการดำเนินงาน การเงินและงบประมาณ รวมทั้งงานอื่นๆ ที่เกี่ยวกับสถานศึกษา ซึ่งมีระบบและเป้าหมายที่แน่นอน เป็นรูปธรรมเพื่อให้การดำเนินงานมีประสิทธิภาพ และประสบผลสำเร็จอย่างสูงสุดตามเจตนารมณ์ของการศึกษาที่กำหนดไว้ ย่อมขึ้นอยู่กับความรู้ ความสามารถ และความเป็นผู้นำ ตลอดจนมีคุณธรรมและจริยธรรม ดังนั้น ผู้บริหารสถานศึกษาจำเป็นอย่างยิ่งที่ต้องมีการบริหารที่ดี มีประสิทธิภาพ และเกิดประสิทธิผล นั้นคือ การบริหารโดยใช้หลักพุทธธรรมาภิบาล ถือเป็นคุณสมบัติที่สำคัญที่ทำให้ผู้บริหารสามารถได้รับการยอมรับ ความเชื่อถือ ตลอดจนความนับถือจากบุคคลต่างๆ ทั้งในองค์กรและในสังคมทั่วไป

Article Details

บท
Articles
Author Biographies

ประจิตร มหาหิง , Mahachulalongkornrajavidyalaya University

Mahachulalongkornrajavidyalaya University

จุฬาพรรณภรณ์ ธนะแพทย์, Mahachulalongkornrajavidyalaya University

Mahachulalongkornrajavidyalaya University

References

เกษม วัฒนชัย. (2546). ธรรมาภิบาลบทบาทของคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน.
กรุงเทพฯ : พิมพ์ดี,
กิติมา ปรีดีดิลก.(2529), การบริหารและการนิเทศการศึกษาเบื้องต้น. กรุงเทพฯ:
ธนการพิมพ์,
โกวิทย์ พวงงาม. (2553). ธรรมาภิบาลท้องถิ่น: ว่าด้วยการมีส่วนร่วมและความโปร่งใส.
กรุงเทพฯ: มูลนิธิส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น,.
คณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน, สำนักงาน.(2549), แนวปฏิบัติงานการจัดการศึกษาของ
สถานศึกษานิติบุคคล. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์สำนักพระพุทธศาสนาแห่งชาติ.
เฉลิมชัย สมท่า. (2547),“การบริหารโดยใช้หลักธรรมาภิบาลของผู้บริหารสถานศึกษาตาม
ความคิดเห็นของครูปฏิบัติการสอนในสังกัดสํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาเลยเขต 1”.
บัณฑิตวิทยาลัย : : มหาวิทยาลัยขอนแกน.
ชัยสิทธิ์ เฉลิมมีประเสริฐ และคณะ.(2547), เศรษฐกิจพอเพียงและประชาสังคม ผลการ
เสวนาสหสาขาวิชาระหว่างสถาบันแห่งชาติ ครั้งที่ 1. กรุงเทพฯ: ฟ้าอภัย จำกัด.
ธวัชชัย นิลประดับและคณะ. (2547), การบริหารตามหลักธรรมาภิบาลของผู้บริหารในทัศนะ
ของครูสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา กรุงเทพฯ.วารสารวิจัย ราชภัฏพระนคร สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์, 11(1), 2559.
ธีระ รุญเจริญ. (2553),ความเป็นมืออาชีพในการจัดและบริหารการศึกษายุคปฏิรูปการศึกษา.
กรุงเทพฯ : ข้าวฟ่าง.
นพพงษ์ บุญจิตรดุลย์.(2540), ก้าวเข้าสู่ผู้บริหารการศึกษา. กรุงเทพฯ: บพิธการพิมพ์.
ปรียาพร วงศ์อนุตรโรจน์.(2546), การบริหารงานวิชาการ. กรุงเทพฯ: ศูนย์สื่อเสริมกรุงเทพ.
พระธรรมโกศาจารย์ (ประยูร ธมฺมจิตฺโต). (2549), พุทธวิธีบริหาร. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์
มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.
เมธี ปิลันนานนท์. (2525),การบริหารการศึกษา. พิมพ์ครั้งที่ 5. กรุงเทพฯ :
รุ่ง แก้วแดง. (2543), ปฏิวัติการศึกษาไทย. กรุงเทพฯ : มติชน.
ศึกษาธิการ, กระทรวง. (2546), คู่มือการบริหารสถานศึกษาขั้นพื้นฐานที่เป็นนิติบุคคล.
กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์ไทยวัฒนาพานิช.
สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาแห่งชาติ. (2544),แนวทางการประกันคุณภาพภายใน
สถานศึกษาเพื่อพร้อมรับการประเมินภายนอก. กรุงเทพฯ : พิมพ์ดี.
สมคิด บางโม. (2544), การบริหารการศึกษา. พิมพ์ครั้งที่ 5. กรุงเทพฯ : สถาบันราชภัฏ
พระนคร.
สมพงษ์ เกษมสิน. (2539), การบริหาร. พิมพ์ครั้งที่ 8. กรุงเทพฯ: อักษรบัณฑิต.
สุดจิต นิมิตกุล. (2543). กระทรวงมหาดไทยกับการบริหารจัดการที่ดี. กรุงเทพฯ:
บพิธการพิมพ์.
อานันท์ ปันยารชุน. (2541).“ธรรมรัฐกับอนาคตของประเทศไทย”. มติชน. 26 มีนาคม
2541: 12.
Ghiselli, E.E. (1971), Managerial Talent : American Psychologist. 16 (10) : 39-94.
Hoy, K. and Miskel, G.. (2001), Educational Administration : Theory, Research
and Practice. New York : Mc Graw – Hill,.
Sam Agera. (2545). ธรรมาภิบาล: การบริหารการปกครองที่โปร่งใสด้วยจริยธรรม. แปล
โดย ไชวัฒน์ ค้ำชู และคณะ. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์น้ำฝน.
Steer, R.M. (1977),Organizational effectiveness: A behavioral view. Santa
Monica, CA: Goodyear.
Stogdill, R.M.. (1974), Handbook of Leadership: A Survey of Theory and
Research. New York : Free Press,.