การบริหารจัดการองค์กรเชิงพุทธในสถานศึกษายุคใหม่
Main Article Content
บทคัดย่อ
บทความวิชาการนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาการบริหารจัดการองค์กรเชิงพุทธในสถานศึกษายุคใหม่ ผลการศึกษา พบว่า การบริหารจัดการองค์กรเชิงพุทธในสถานศึกษายุคใหม่ เป็นภาวะผู้นำเชิงจริยธรรมที่จะต้องมีวิสัยทัศน์ที่ยาวไกล กล่าวคือ เป็นคุณสมบัติเฉพาะของผู้บริหารในการส่งเสริมให้เกิดการช่วยเหลือ เอื้อเฟื้อซึ่งกันและกันได้อย่างเหมาะสม การวางแผนบริหารองค์กร ผู้บริหารต้องมีความรู้ ความรอบคอบ รอบด้าน มีคุณธรรมประจำใจ มีความเสียสละให้กับองค์กร ให้ความสำคัญกับคนดีมากกว่าคนเก่ง เห็นประโยชน์ส่วนรวมมากกว่าประโยชน์ส่วนตน.
Article Details
บท
Articles
References
ทินพัน นาคะตะ.(2529). พระพุทธศาสนากับสังคมไทย. กรุงเทพฯ : อักษรเจริญทัศน์.
ธัญวิทย์ ศรีจันทร์. (2558). รูปแบบและกลยุทธ์การพัฒนาภาวะผู้นำในศตวรรษที่ 21 ของ
กรรมการองค์กรนิสิตนักศึกษา. บัณฑิตวิทยาลัย : จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
พระราชวรมุนี (ประยุทธ์ ปยุตฺโต). (2528). การศึกษา:เครื่องมือพัฒนาที่ยังต้องพัฒนา.
กรุงเทพฯ : พิมพ์ลักษณ์มูลนิธิพุทธธรรม.
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล วิทยาเขตอีสาน, (2560). ความหมายและความสำคัญของ
การบริหาร. เอกสารประกอบการสอน, มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล.
วิทยาเกียรติ เงินดี.(2560). เทคนิคการบริหารสมัยใหม่. สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา
ประถมศึกษานครราชสีมา เขต 5. 11 พฤศจิกายน 2560.
สมพงศ์ เกษมสิน, (2523). การบริหาร. พิมพ์ครั้งที่ 7, กรุงเทพฯ : ไทยวัฒนาพานิช.
เสาวลักษณ์ โกศลกิตติอัมพร และสัญญา เคณาภูมิ. (2559), หลักการเบื้องต้นเกี่ยวกับ
องค์การและการจัดการ. วารสารวิชาการแพรวากาฬสินธุ์. มหาวิทยาลัยกาฬสินธุ์. 182 -193.
สมหวัง วิทยาปัญญานนท์. (2531). บริหารเชิงพุทธแนวท่านพุทธทาส. กรุงเทพฯ :สุขภาพใจ.
ศิริวัฒน์ ปิยสีโล, (2560), การบริหารจัดการเชิงพุทธและการบริหารจัดการองค์กรสมัยใหม่.
บทความวิชาการ : มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.
หวน พินธุพันธ์, (2549).“คุณลักษณะของผู้บริหารสถานศึกษามืออาชีพของสถาบันพัฒนาครู
คณาจารย์ และบุคลากรทางการศึกษา,” ในนักบริหารมืออาชีพ. กรุงเทพ ฯ : ศูนย์การพิมพ์มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.
แหล่งสืบค้นจากอินเตอร์เน็ต www.hrcenter.co.th www.catprocurement.com
www.school.mediathai.net
ธัญวิทย์ ศรีจันทร์. (2558). รูปแบบและกลยุทธ์การพัฒนาภาวะผู้นำในศตวรรษที่ 21 ของ
กรรมการองค์กรนิสิตนักศึกษา. บัณฑิตวิทยาลัย : จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
พระราชวรมุนี (ประยุทธ์ ปยุตฺโต). (2528). การศึกษา:เครื่องมือพัฒนาที่ยังต้องพัฒนา.
กรุงเทพฯ : พิมพ์ลักษณ์มูลนิธิพุทธธรรม.
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล วิทยาเขตอีสาน, (2560). ความหมายและความสำคัญของ
การบริหาร. เอกสารประกอบการสอน, มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล.
วิทยาเกียรติ เงินดี.(2560). เทคนิคการบริหารสมัยใหม่. สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา
ประถมศึกษานครราชสีมา เขต 5. 11 พฤศจิกายน 2560.
สมพงศ์ เกษมสิน, (2523). การบริหาร. พิมพ์ครั้งที่ 7, กรุงเทพฯ : ไทยวัฒนาพานิช.
เสาวลักษณ์ โกศลกิตติอัมพร และสัญญา เคณาภูมิ. (2559), หลักการเบื้องต้นเกี่ยวกับ
องค์การและการจัดการ. วารสารวิชาการแพรวากาฬสินธุ์. มหาวิทยาลัยกาฬสินธุ์. 182 -193.
สมหวัง วิทยาปัญญานนท์. (2531). บริหารเชิงพุทธแนวท่านพุทธทาส. กรุงเทพฯ :สุขภาพใจ.
ศิริวัฒน์ ปิยสีโล, (2560), การบริหารจัดการเชิงพุทธและการบริหารจัดการองค์กรสมัยใหม่.
บทความวิชาการ : มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.
หวน พินธุพันธ์, (2549).“คุณลักษณะของผู้บริหารสถานศึกษามืออาชีพของสถาบันพัฒนาครู
คณาจารย์ และบุคลากรทางการศึกษา,” ในนักบริหารมืออาชีพ. กรุงเทพ ฯ : ศูนย์การพิมพ์มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.
แหล่งสืบค้นจากอินเตอร์เน็ต www.hrcenter.co.th www.catprocurement.com
www.school.mediathai.net