ผลการเรียนรู้กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ (สาระที่ 3 นาฏศิลป์) หน่วยการเคลื่อนไหว โดยใช้ชุดกิจกรรมการสอนแบบซิปปา ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 3

Main Article Content

นริศา ศรีว่องสวัสดิ์
เจริญวิชญ์ สมพงษ์ธรรม
กนกกาญจน์ ศรีสุรินทร์

บทคัดย่อ

การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาผลการเรียนรู้ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 และ 2) เปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 ที่เรียนกลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ (สาระที่ 3 นาฏศิลป์) หน่วยการเคลื่อนไหว ก่อนและหลังการเรียนโดยใช้ชุดกิจกรรมการสอนแบบซิปปา กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ได้แก่ นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 3/2 จำนวน 19 คน โรงเรียนเทศบาล 2 พิบูลวิทยาคาร โรงเรียนสังกัดกรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น เขต 3 จังหวัดอุบลราชธานี ด้วยการสุ่มตัวอย่างแบบใช้หลักความน่าจะเป็นแบบสุ่มอย่างง่าย เครื่องมือที่ใช้เป็นแบบวัดผลการเรียนรู้ วิเคราะห์ข้อมูลและแปลผลด้วยโปรแกรมสำเร็จรูปทางสถิติ สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่จำนวน ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการทดสอบ ค่าทีแบบไม่มีอิสระต่อกัน ผลการวิจัยพบว่า 1) ผลการเรียนรู้ของนักเรียนหลังการเรียนโดยใช้ชุดกิจกรรมการสอนแบบซิปปา ประเด็นผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ทักษะการเคลื่อนไหว ทักษะการทำงานกลุ่ม และความมีวินัยในการเรียนโดยภาพรวมอยู่ในระดับสูง ความพึงพอใจโดยภาพรวมอยู่ในระดับมากที่สุด และ 2) ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาศิลปะ (สาระที่ 3 นาฏศิลป์) หน่วยการเคลื่อนไหว ของนักเรียนหลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียนอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05


          

Article Details

บท
Research Articles
Author Biographies

เจริญวิชญ์ สมพงษ์ธรรม , ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.,บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยราชธานี

ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.,บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยราชธานี

กนกกาญจน์ ศรีสุรินทร์ , อาจารย์ ดร.,บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยราชธานี

อาจารย์ ดร.,บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยราชธานี

References

กระทรวงศึกษาธิการ. (2552). หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551.

กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์ชุมนุม

ชริณี เดชจินดา. (2535). ความพึงพอใจของผู้ประกอบการต่อศูนย์กําจัดกากอุตสาหกรรม

แขวงแสมดํา เขตบางขุนเทียน กรุงเทพมหานคร.บัณฑิตวทยาลัย :มหาวิทยาลัย

มหิดล .

ฉันทนา ภาคบงกช และคณะ. (2539). การสํารวจคุณลักษณะทางวินัยที่พึงประสงค์ใน

สังคมไทย. กรุงเทพฯ: รายงานการวิจัยฉบับที่ 56 สถาบันวิจัยพฤติกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.

ณัฐพงศ์ ศรีภูงา. (2553). การจัดกิจกรรมการเรียนรู้รายวิชาทัศนศิลป์โดยใช้รูปแบบการสอน

แบบซิปปาของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1. Journal of Education Graduate Studies Research, ปีที่ 6 (ฉบับที่ 1), 178.

ณัฐรดี โพธิ์ทิพย์. (2547). การมีวินัยในตนเองกับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียน

โรงเรียนมัธยมศึกษา เขตภาคตะวันออก. บัณฑิตวิทยาลัย : มหาวิทยาลัยบูรพา.

ตรีทิพย ชัยประทุม. (2554). ผลการจัดการเรียนรูกลุมสาระทัศนศิลป เรื่องสนุกกับงานปน

ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 5 โดยใชรูปแบบการสอนซิปปาโมเดล. Journal of Education Graduate Studies Research, ปีที่ 7 (ฉบับที่ 2), 38.

ทิศนา แขมณี. (2553). ศาสตรการสอน องคความรูเพื่อการจัดกระบวนการเรียนรูที่มี

ประสิทธิภาพ. กรุงเทพฯ : จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย.

ไพศาล ภู่ไพบูลย์ อังคณา ตติรัตน์ และปนัดดา มีสมบัติงาม.(2550) หน้าที่พลเมือง

วัฒนธรรมและการดำเนินชีวิตในสังคม ม.1. กรุงเทพฯ : อักษรเจริญทัศน์.

วรรณิกา เสนไสย. (2556). ผลการจัดการเรียนรู้สาระทัศนศิลป์ หน่วยการเรียนรู้ เรื่อง งาน

ศิลปกรรมที่ปรากฏ ในพระธาตุนาดูน ของนักเรียนชั้นมธัยมศึกษาปทีี่ 1 โดยใช้รูปแบบการสอน ซิปปาโมเดล (CIPPA MODEL) บัณฑิตวทยาลัย :มหาวิทยาลัย

ขอนแก่น. สืบค้นจาก https://ednet.kku.ac.th/frm-lkuv02.php

วรวิทย สินธุระหัส. (2553). การศึกษาเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนเรื่องลายไทยของ

นักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 5 ความพึงพอใจของนักเรียนที่มีตอวิธีสอนแบบซิปปา

บัณฑิตวทยาลัย : มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.

วรารัตน์ กลมคุณากร. (2554). การพัฒนากิจกรรมการเรียนการสอนและผลสัมฤทธิ์ทางการ

เรียน กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม สาระ ภูมิศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปที่ 5 โดยใชรูปแบบซิปปา (CIPPA Model). Journal of Education Graduate Studies Research, ปีที่ 7 (ฉบับที่ 2), 148.

วิชัย เหลืองธรรมชาติ. (2531) ความพึงพอใจและการปรับตัวต่อสภาพแวดล้อมใหม่ของ

ประชากรในหมู่บ้านอพยพ โครงการเขื่อนรัชชประภา (เชี่ยวหลาน) จังหวัด

สุราษฎร์ธานี.มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์/กรุงเทพฯ.

สมเกียรติ ศรีรุ่งเรือง. (2555). การพัฒนาทักษะกระบวนการกลุ่มและผลสัมฤทธิ์ทางการ

เรียน เรื่อง การสร้างเสริม สุขภาพ สมรรถภาพ และการป้องกันโรค กลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา โดยใช้รูปแบบการเรียนรู้แบบซิปปา (CIPPA Model) ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4. วารสารศึกษาศาสตร์, ปีที่ 35 (ฉบับที่ 3), 65.

สัญญา มีชัย. (2549). ความสัมพันธ์ระหว่างการมีวินัยในตนเองกับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน

ของนักเรียนโรงเรียนมัธยมศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาปราจีนบุรี. บัณฑิตวทยาลัย : มหาวิทยาลัยบูรพา.

สุวิทย์ มูลคำ. (2547). กลยุทธ์การสอนสังเคราะห์. พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ: ภาพพิมพ์.

สุนันทา สุนทรประเสริฐ. (2543). การผลิตเอกสารประกอบการเรียนการสอน. นครสวรรค์:

โรงพิมพ์ริมปิง.

สุนีย์ ภู่พันธ์. (2546). แนวคิดพื้นฐานการสร้างและพัฒนาหลักสูตร. เชียงใหม่ : เดอะโนว์เลจ

เซ็นเตอร์

สุคนธ์ สินธพานนท์และคณะ. (2554). วิธีสอนตามแนวปฏิรูปการศึกษาเพื่อพัฒนาคุณภาพ

ของเยาวชน. กรุงเทพฯ: 9199 เทคนิคพริ้นติ้งนิทาน.

สุชีลา เพชรแก้ว. (2554). การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ความคิดสร้างสรรค์และ

ความพึงพอใจต่อวิชาศิลปะพื้นฐาน ระหว่างการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ แบบซิปปากับแบบปกติ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1.วารสารมหาวิทยาลัยนครพนม, ปีที่ 2 (ฉบับที่1), 72. สืบค้นจาก https://www.npu.ac.th/npujournal/files_research/9/2-1_10.pdf

อมรรัตน พจนา. (2555). การศึกษาผลสัมฤทธิ์และทักษะการเรียนรู วิชาศิลปะ เรื่องเทคนิค

การวาดภาพสีน้ำ โดยการใชรูปแบบการสอนซิปปาโมเดล ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 5 โรงเรียนพระซองสามัคคีวิทยา ขอนแก่น. มหาวิทยาลัยขอนแกน.

อุษา ขุนทอง. (2550). การเปรียบเทียบทักษะการวาดภาพเชิงสรางสรรคและเจตคติตอการ

วาดภาพเชิงสรางสรรคของนักเรียนชวงชั้นที่ 1 ที่เรียนรูตามรูปแบบซินเนคติกสกับตามรูปแบบซิปปา. บัณฑิตวิทยาลัย :มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนครศรีอยุธยา.

อดิศร ศิริ. (2543). การพัฒนากิจกรรมการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นศูนย์กลางโดยใช้

โมเดลซิปปา. สำหรับวิชาชีววิทยา ในระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5. บัณฑิตวิทยาลัย: มหาวิทยาลัยขอนแก่น

Botton, Leslie. (1974). “Developmental Grop Work with Adolescent” London:

University of London Press, Ltd.