วนเกษตรแนวพุทธ การเรียนรู้เพื่อพัฒนาสังคมและจิตใจ

Main Article Content

พระมหาอนุพันธ์ พรมชาลี
วิทยา ทองดี

บทคัดย่อ

การเพิ่มความหลากหลายของกิจกรรมและมีการจัดการอย่างเหมาะสมจะช่วยให้เกษตรกรได้รับ ประโยชน์ทั้งทางตรงและทางอ้อมจากระบบวนเกษตร เช่น รายได้เพิ่มขึ้น ลดรายจ่าย ลดต้นทุนการผลิต รวมถึงมีอาหารสำหรับบริโภค มีไม้ใช้สอย ไม้ฟืน สมุนไพรและเกษตรกรได้อยู่อาศัยในสภาพแวดล้อมที่ดี เป็นต้น ระบบวนเกษตรจึงควรได้รับการส่งเสริมให้เป็นทางเลือกหนึ่งของเกษตรกรเพื่อการใช้ประโยชน์ที่ดิน อย่างยั่งยืน เนื่องจากผลการศึกษาชี้ให้เห็นว่าวนเกษตรสามารถสร้างประโยชน์ให้กับเกษตรกรได้จริง และ ยังเอื้อประโยชน์ต่อชุมชนและสิ่งแวดล้อมโดยรวมได้ด้วย รวมถึงมีความสอดคล้องกับเป้าหมายของหลักการใช้ที่ดินอย่างยั่งยืน เป็นระบบที่สามารถทำได้จริง เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม อนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติ เกษตรกรและสังคมยอมรับ มีการผลิตที่หลากหลาย ลดความเสี่ยงในการผลิต และมี แนวโน้มจะเป็นระบบที่มีความคุ้มค่าทางเศรษฐศาสตร์โดยคำนึงถึงประโยชน์ในระยะยาว


 

Article Details

บท
Articles

References

กรมวิชาการเกษตรกระทรวงเกษตรและสหกรณ์.(2536). เกษตรยั่งยืนอนาคตการเกษตรไทย.

กรุงเทพฯ : กรมวิชาการเกษตร.

กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม. (2552). ประกาศกระทรวงทรัพยากร

ธรรมชาติและ สิ่งแวดล้อมเรื่อง กำหนดหลักเกณฑ์ วิธีการระเบียบวิธีปฏิบัติและแนวทางการจัดทำรายงานการวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อมสำหรับโครงการหรือกิจการที่อาจก่อให้เกิด ผลกระทบต่อชุมชนอย่างรุนแรงทั้งทางด้านคุณภาพสิ่งแวดล้อมทรัพยากรธรรมชาติและสุขภาพ. (2552, 29 ธันวาคม). ราชกิจจานุเบกษา. เล่ม 126 (ตอนพิเศษ 188 ง).

พระเทพรัตนมุนี (สายพงศ์ อโนมปญฺโญ). (2554). วิถีเกษตรแนวพุทธ. อุดรธานี : เอกสาร

ประกอบการอบรมเกษตรแนวพุทธ วัดมัชฌิมาวาส พระอารามหลวง ตำบลหมาก

แข้ง อำเภอเมือง จังหวัดอุดรธานี.

พระมหาสังเวียร ปญฺญาธโร (ศรีมันตะ). (2550). บทบาทของพระสงฆ์ในการนำหลักพุทธ

ธรรม มาประยุกต์ใช้ในการพัฒนาเศรษฐกิจชุมชน :กรณีศึกษา พระครูสุภาจารวัฒน์. รายงานการวิจัย : มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.

นิวัติ เรืองพานิช. (2542). การอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม. กรุงเทพฯ:

รั้วสีเขียว.

______.(2548). การอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม. กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์

ศูนย์ส่งเสริมวิชาการ.

ทัศนีย์ วีระกันต์ และคณะ. (2557). คู่มือดําเนินงานขับเคลื่อนเกษตรกรรมยั่งยืนสู่อาหารเพื่อ

สุขภาวะ. กรุงเทพฯ: สำนักสนับสนุนสุขภาวะชุมชน สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.).

มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. (2539). พระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราช

วิทยาลัย. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.

มูลนิธิเกษตรกรรมยั่งยืน. (2548). เกษตรกรรมยั่งยืน วิถีเกษตรกรรมเพื่อความเป็นไทย.

นนทบุรี: พิมพ์ดีการพิมพ์.

มูลนิธิเกษตรกรรมยั่งยืน, ประเทศไทย. (2557). ประสบการณ์ชาวสวนยางพาราทางเลือก.

นนทบุรี: มูลนิธิเกษตรกรรมยั่งยืน, ประเทศไทย.

วิชญ์ภาส สังพาลี. (2562). การอนุรักษ์พันธุ์หวายนั่งอย่างยั่งยืนในภูมิสังคมบ้านลาดสมบูรณ์

ใหม่ ตำบลห้วยยาง อำเภอเมืองสกลนคร จังหวัดสกลนคร. คณะผลิตกรรมการ

เกษตร : มหาวิทยาลัยแม่โจ้.

วิฑูรย์ ปัญญากุล. (2556). ภาพรวมเกษตรอินทรีย์ไทย 2554-2555. มูลนิธิสายใยแผ่นดิน.

สุรีย์ ธีระปกรณ์กุล.(2557). รูปแบบการพัฒนาสังคมเชิงพุทธบูรณาการ สำหรับเยาวชน

ในกรุงเทพมหานคร, รายงานการวิจัย. : มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.

เสรี พงศ์พิศ. (2555). เครือข่าย :ยุทธวิธีเพื่อประชาคมเข้มข้นชุมชนเข้มแข็ง, พิมพ์ครั้งที่ 2.

กรุงเทพฯ : สถาบันส่งเสริมวิสาหกิจชุมชน.

FAO. (2013). FAO Fisheries and Aquaculture Department has published the

Global Aquaculture Production Statistics for the year 2011. [ระบบออนไลน์]. แหล่งที่มา: javascript :new_window.

Nair. K. S., and White, S. A. (1993). Perspectives on development

communication. Westlake Village, CA : Sage