การจัดการเรียนรู้แบบใช้ปัญหาเป็นฐาน (Problem–based Learning)

Main Article Content

พระพันธวัฒน์ ธมฺมวฑฺฒโน (ภูมิรัง)
วิทยา ทองดี

บทคัดย่อ

การเรียนรู้แบบใช้ปัญหาเป็นฐานหมายถึงวิธีการเรียนรู้ที่เริ่มต้นด้วยปัญหาที่เกิดขึ้นจริงหรือสถานการณ์ปัญหาที่เกี่ยวข้องกับชีวิตจริงเป็นตัวกระตุ้นให้ผู้เรียนอยากรู้หรือเกิดความสนใจซึ่งอยู่บนพื้นฐานความต้องการของผู้เรียน การเรียนรู้แบบใช้ปัญหาเป็นฐานมีแนวคิดพื้นฐานมาจาก กระบวนการสร้างความรู้เป็นกระบวนการพัฒนาทางสติปัญญาที่ผู้เรียนสร้างความรู้ใหม่โดยอาศัย พื้นฐานความรู้เดิมที่มีอยู่ด้วยตนเอง กระบวนการเรียนรู้เป็นไปตามสภาพแวดล้อมที่ทำให้ผู้เรียนได้ ประสบกับสภาพปัญหาจริง ผู้เรียนมีปฏิสัมพันธ์กับสิ่งแวดล้อมและเกิดการซึมซับประสบการณ์ใหม่ และปรับโครงสร้างให้เข้ากับประสบการณ์นั้น ๆ สามารถนำข้อมูลออกมาใช้ในการกระทำและการ แก้ปัญหาต่าง ๆ ได้

Article Details

บท
Articles

References

ซาฟีนา หลักแหล่ง. (2552). ผลของการเรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็นฐานตามแนวคิดวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและสังคม ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 โรงเรียนมูลนิธิอาซิซสถาน จังหวัดปัตตานี. บัณฑิตวิทยาลัย : มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี.

บุญนำ อินทนนท์, (2551). การศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิทยาศาสตร์และความสามารถในการแก้ปัญหาทางวิทยาศาสตร์ ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โรงเรียนโยธินบำรุง ที่ได้รับการจัดการเรียนรู้ โดยใช้ปัญหาเป็นฐานและการจัดการเรียนรู้แบบสืบเสาะหาความรู้. บัณฑิตวิทยาลัย : มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ

ทิศนา แขมมณี .(2556). ศาสตร์การสอน : องค์ความรู้เพื่อการจัดกระบวนการเรียนรู้ที่มีประสิทธิภาพ. พิมพ์ครั้งที่ 7. กรุงเทพมหานคร : สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

ทองจันทร์ หงศ์ลดารมภ์. (2538). การเรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็นหลัก (Problem Based Learning). กรุงเทพฯ: ข่าวสารกองบริการการศึกษา.

มัณฑรา ธรรมบุศย. 2545. “การพัฒนาคุณภาพการเรียนรูโดยใช้ PBL (Problem-Based Learning), วิชาการ. (กุมภาพันธ), 11-17.

ราตรี เกตบุตตา. (2546). “ผลของการเรียนแบบใช้ปัญหาเป็นหลักต่อความสามารถในการแก้ปัญหาและความคิดสร้างสรรค์ทางคณิตศาสตร์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษา”, บัณฑิตวิทยาลัย : จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

สุรางค์ โค้วตระกูล. (2541). จิตวิทยาการศึกษา. ครั้งที่ 4. กรุงเทพมหานคร : สำนักพิมพ์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

วัลลี สัตยาศัย. (2547). การเรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็นหลัก รูปแบบการเรียนรูโดยผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง. กรุงเทพมหานคร : บุคเน็ท.

อำพร ไตรภัทร. (2543). คู่มือการเรียนการสอนคิดวิเคราะห์. ขอนแก่น: ขอนแก่นการพิมพ์.

อาภรณ์ แสงรัศมี. (2543). ผลของการเรียนแบบใช้ปัญหาเป็นหลักต่อลักษณะการเรียนรู้ด้วย ตนเอง ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาวิทยาศาสตร์สิ่งแวดล้อม และความพึงพอใจต่อการเรียน การสอนของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4. บัณฑิตวิทยาลัย : จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

Barrows, H.S. & Tamblyn, R.M. (1980). Problem-Based Learning : An Approach to Medical Education. New York : Springer.

Diana, D., & Henk, S. (1995). The Advantages of Problem-Based Curriculam. Netherlands: Department of Educational Development and Research University of Limburg.

Hmelo, C.E., & Lin, Xiaodong. (2000). Becoming Self-Directed Learners : strategy Development in Problem-Based Learning. Mahwah, New Jersey: Lawrence Erlbaum Associates.

Howard, J.A. and J.N. Sheth. (1999). The theory of buyer behavior. Reading, MA : AddisonWesley.

Knowles, M.S. (1975). Self-Directed Learning : A Guide for Learners and Teachers. Chicago : Follett Publishing Company.

Woods, D.R. (1994). Problem-Based Learning: How to Gain the Most from PBL. Hamilton : W.L. Griffin Printing Limited.

Gijselaers, W.H. (1996). Connecting Problem-Based Practices with Educational Theory. San Francisco : Jossey-Bass

Schmidt, H.G. (1983). "Problem-Based Learning: Rationale and Description". Medical Education. 17 (January 1983), 11-16.