การศึกษาสภาพปัจจุบันและความต้องการการจัดการเรียนรู้ ของนักศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฏชัยภูมิ

Main Article Content

ลักขณา สุกใส
ฤทธิชัย ผานาค
ศิริพร พึ่งเพ็ชร์

บทคัดย่อ

การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาสภาพปัจจุบันและความต้องการการจัดการเรียนรู้ของนักศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏชัยภูมิ กลุ่มตัวอย่าง คือ นักศึกษาคณะครุศาสตร์ ปีการศึกษา 2563 จำนวน 421 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย คือ แบบสอบถามสภาพปัจจุบันและความต้องการการจัดการเรียนรู้ จำนวน 31 ข้อ วิเคราะห์ข้อมูลโดยหาค่าร้อยละ ผลการวิจัย พบว่า สภาพปัจจุบันและความต้องการของนักศึกษาภาพรวมอยู่ในระดับ ( = 3.22 SD = 0.54) เมื่อนำมาวิเคราะห์เป็นรายด้าน ได้แก่ ด้านสิ่งสนับสนุนการเรียนรู้ ด้านกิจกรรมการเรียนรู้ ด้านสื่อและแหล่งเรียนรู้ และด้านการวัดและประเมินผล และเรียงตามลำดับจากน้อยไปมาก ตามลำดับ


 

Article Details

บท
Research Articles

References

กระทรวงศึกษาธิการ.(2562).พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พุทธศักราช 2562 (ฉบับที่

.กรุงเทพฯ: บริษัทสยามสปอรต์ ซินดิเคท จำกัด

กระทรวงศึกษาธิการ. (2562). ข่าววงการศึกษา:กศน.เพื่อนเรียนรู้:กศน.ขับเคลื่อนศูนย์

ดิจิตอลชุมชน 7,424 แห่ง. [ออนไลน์]. ได้จาก: https://www.moe.go.th/moe/th/news/detail.php?NewsID=45923&Key=hotnews. [สืบค้นเมื่อ วันที่ 1 กรกฎาคม 2564].

บุญชม ศรีสะอาด. (2545). การวิจัยเบื้องต้น พิมพ์ครั้งที่ 7. กรุงเทพฯ: สุวีริยาสาสน.

พัชรี นาคผง. (2562). การพัฒนาทักษะการคิดวิเคราะห์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ที่

จัดการเรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็นฐานร่วมกับเทคนิค STAD. บัณฑิตวิทยาลัย:

มหาวิทยาลัยศิลปากร.

ไพฑูรย์ สินลารัตน์ และคณะ. (2557). คิดวิเคราะห์ : สอนและสร้างได้อย่างไร. กรุงเทพฯ:

โรงพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

ลีลาวดี ชนะมาร. (2563). การพัฒนารูปแบบการจัดการเรียนรู้เชิงรุกเพื่อส่งเสริม

ความสามารถในการออกแบบการจัดประสบการณ์สำหรับเด็กปฐมวัยของนักศึกษาสาขาวิชาการศึกษาปฐมวัย. วารสารมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์. 14(35), น. 135-148.

วรรษชล พิเชียรวิไล. (2561). ผลการจัดการเรียนการสอน ตามแนวคิดคอนสตัคติวิสต์ต่อ

ความสามารถในการคิดวิเคราะห์ของนักศึกษาพยาบาลศาสตร์. วารสารวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยสุรนารี. 12(1), น. 37-47.

วิจารณ์ พานิช. (2557). การเรียนรู้เกิดขึ้น อย่างไร. พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ : มูลนิธิ

สยามกัมมาจล.

วิชัย วงษ์ใหญ่. (2554). การพัฒนาหลักสูตรระดับอุดมศึกษา.กรุงเทพฯ:อาร์แอนด์ปริ้น.

ศรเนตร อารีโสภณพิเชฐ. (2557). กลยุทธ์การเรียนการสอนเพื่อพัฒนาทักษะการคิด

วิเคราะห์: แผนที่มโนทัศน์. วารสารครุศาสตร์. 42(3). น. 194-210.

สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษากระทรวงศึกษาธิการ (2556). แผนพัฒนาการศึกษา

ระดับอุดมศึกษา ฉบับที่ 11 (พ.ศ.2555-2559). กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

สิทธิพล อาจอินทร์. (2554). การพัฒนารูปแบบการจัดการ เรียนรู้ที่เน้นการคิดวิเคราะห์

กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์. สืบค้นเมื่อ 20 พฤศจิกายน 2560, จาก

http://www.resjournal.kku.ac.th/article/16_01_72.pdf.

Bloom et al.(1976). Taxonomy of Education Objectives. Handbook I Cognitive

Domain. New York: David Mckay.

Hussain, F., & Others. (2005). Managing management effectively. Journal of

Knowledge Management Practice, (May). (Online). Available :http://www.tlainc.com/artic 166 htm. Accessed (10 October, 2005).