การพัฒนาผลิตภัณฑ์เห็ดแปรรูปด้วยสมุนไพรตามภูมิปัญญาท้องถิ่น บนฐานเศรษฐกิจพอเพียงและเศรษฐกิจสร้างสรรค์ตำบลละหาน อำเภอจัตุรัส จังหวัดชัยภูมิ

Main Article Content

ลักขณา สุกใส
ฤทธิชัย ผานาค
ศาสตร์ศิลป์ ละม้ายศรี

บทคัดย่อ

การวิจัยเรื่อง การพัฒนาผลิตภัณฑ์เห็ดแปรรูปด้วยสมุนไพรตามภูมิปัญญาท้องถิ่นบนฐานเศรษฐกิจพอเพียงและเศรษฐกิจสร้างสรรค์ตำบลละหาน อำเภอจัตุรัส จังหวัดชัยภูมิ วิธีดำเนินการสำรวจและเก็บข้อมูลภาคสนาม (Field Survey) โดยวิธีการ สังเกตแบบมีส่วนร่วม ผลทางวิจัยพบว่า 1)การศึกษาขั้นตอนการเพาะเห็ดของวิสาหกิจชุมชนกลุ่มเกษตรกรผู้เพาะเห็ด ในจังหวัดชัยภูมิ มีขั้นตอนการเพาะเห็ดของวิสาหกิจชุมชนกลุ่มเกษตรกรผู้เพาะเห็ดในจังหวัดชัยภูมิมี 6 ขั้นตอน 2) การแปรรูปผลิตภัณฑ์ของวิสาหกิจ ชุมชนกลุ่มเกษตรกรผู้เพาะเห็ดในจังหวัดชัยภูมิ 2.1) ผลิตภัณฑ์แปรรูปเห็ดทอดกรอบ 2 สูตร 2.2) การพัฒนาตราสินค้าของวิสาหกิจชุมชน 1 ตรา การพัฒนาบรรจุภัณฑ์ของวิสาหกิจชุมชน 2 แบบ 2.3) เพิ่มช่องทางการตลาดแบบ online โดยการใช้สื่อสังคม ออนไลน์ ประกอบด้วย Facebook 3)ดำเนินการถ่ายทอดความรู้ในเรื่อง ขั้นตอนการเพาะเห็ด การพัฒนาการแปรรูปเห็ดทอดกรอบ 2 สูตร แนวคิดการออกแบบตราสินค้าให้กับวิสาหกิจชุมชน แนวคิดการออกแบบบรรจุภัณฑ์ให้มีความโดดเด่น ช่องทางการจัดจำหน่ายแบบ online และ 4)การสร้างองค์ความรู้เกี่ยวกับการผลิต และการตลาดสินค้าเกษตรอินทรีย์ คู่มือแนวทางขั้นตอนการเพาะเห็ด การพัฒนาแปรรูปเห็ด


 

Article Details

บท
Research Articles

References

กรมส่งเสริมอุตสาหกรรม. (2564), เป้าหมายนวัตกรรม. 3 กันยายน 2564. http://library. dip.go.th/Industrial%20Innovation/www/inno 1-03.html

คลินิกเทคโนโลยี, มหาวิทยาลัยนครพนม. (2557) รายงานฉบับสมบูรณ์โครงการหมู่บ้าน

เทคโนโลยีการผลิตเห็ดปีงบประมาณ 2556. รายงานผลการดำเนินการโครงการ

หมู่บ้านเทคโนโลยีการผลิตเห็ดประจำปีงบประมาณ 2556 มหาวิทยาลัยนครพนม.

ณัฐนันท์ ฐิติยาปราโมทย์. (2554). การพัฒนาประสิทธิภาพการบริหารจัดการกลุ่มแบบมีส่วน

ร่วมของวิสาหกิจชุมชนเพาะและแปรรูปเห็ดบ้านสวนแม่วะ ตำบลสันดอนแก้ว อำเภอแม่ทะ จังหวัดลำปาง, บัณฑิตวิทยาลัย : มหาวิทยาลัยราชภัฏลำปาง

วชิรญา เหลียวตระกูล.(2560). การยกระดับผลิตภัณฑ์แปรรูปเห็ดตับเต่าเชิงการค้าสู่

มาตรฐานผลิตภัณฑ์ชุมชน โดยกระบวนการวิจัยเชิงปฏิบัติการแบบมีส่วนร่วม.

รายงานการวิจัย : สํานักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ (วช.).ออนไลน์ [สืบค้นเมื่อวันที่ 19 กุมภาพันธ์ 2564]

รวิภา ยงประยูร. (2558).การพัฒนากระบวนการผลิตเห็ดอบแห้งด้วยเครื่องอบแห้งพลังงาน

แสงอาทิตย์แบบเรือนกระจก โดยการมีส่วนร่วมของกลุ่มวิสาหกิจชุมชน กลุ่มอาชีพเพาะเห็ดบ้านทุ่งบ่อแป้น ตำบลปงยางคก อำเภอห้างฉัตร จังหวัดลำปาง. วารสารการพัฒนาชุมชนและคุณภาพชีวิต, 3(2): 133-140.

ศูนย์เครือข่ายข้อมูลอาหารครบวงจร (Food Network Solution), (2564). การปฏิบัติทาง

การเกษตรที่ดี และเหมาะสม (Good Agriculture Practices เรียกย่อ ๆ ว่า GAP) 3 กันยายน 2564. http://www.foodnetworksolution.com/news and articles/article/0058/good-agricultural-practice.

สมหวัง สงแสง. (2564), ผลิตเห็ดปลอดภัยภายใต้ระบบ GAP. 3 กันยายน 2564.

http://bdssp.com/images/pdf-research/Mushroom-production-safety-under-GAP.pdf).

สำนักงานจังหวัดชัยภูมิ. (2564). แผนพัฒนาจังหวัดชัยภูมิ พ.ศ.2560-2564 3 กันยายน

http://www.chaiyaphum.go.th/.../598/...ยุทธศาสตร์การพัฒนา

จังหวัด/.../1328-2564-2.

สำนักข่าว ไอ.เอ็น.เอ็น. จำกัด. (2564), ชัยภูมิแล้งผุด400โครงการเสริมรายได้. 3 กันยายน

http://www.innnews.co.th/show/685187/ชัยภูมิแล้งผุด 400 โครงการเสริมรายได้.

สำนักงานเกษตรอำเภอจัตุรัส (2564), เพาะเห็ด....อร่อยเด็ดทั้งอำเภอ. 3 กันยายน 2564 http://nadun. chaiyaphum.go.th.doae.go.th/home.html.

Carpenter, Mason A. and Sanders, Wm. Gerard. (2009). Strategic Management:

A Dynamic Perspective concepts and cases. (2nd ed.). New Jersey: Pearson Education.