การจัดการเรียนรู้วิชาสังคมศึกษาตามแนวปรัชญา ของเศรษฐกิจพอเพียง ในศตวรรษที่ 21
Main Article Content
บทคัดย่อ
ความเจริญก้าวหน้าทางด้านเทคโนโลยีมาเป็นส่วนหนึ่งในชีวิตประจำวัน ครูผู้สอนในยุคศตวรรษที่ 21 จึงต้องปรับตัวให้เข้ากับการ เรียนรู้ให้ทันยุคสมัยที่มีการเปลี่ยนแปลงตลอดเวลา ซึ่งสามารถกำหนดเป็นขั้นการจัดการเรียนรู้ ได้แก่ 1.ขั้นการเสนอข้อมูลความรู้ 2. ขั้นการคิดวิเคราะห์ 3. ขั้นการตรวจสอบ และ 4. การวัดและการประเมินผล ดังนั้นการกำหนดคุณลักษณะของบุคคลในศตวรรษที่ 21 และแนวทางในการดำเนินงานการพัฒนาของครูและผู้เรียนที่จะ สามารถส่งเสริมทักษะการเรียนรู้ให้สอดคล้องกับบริบทสังคมไทยที่ได้น้อมนำแนวคิดปรัชญาของเศรษฐกิจ พอเพียงของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดชมาปรับใช้ในการพัฒนาให้สมดุลและยั่งยืน พร้อมรับ ต่อการเปลี่ยนแปลงในทุกด้าน ทั้งด้านเศรษฐกิจ สังคม สิ่งแวดล้อม ความรู้ และเทคโนโลยีอย่างมั่งคงและยั่งยืน ต่อไป
Article Details
References
คณะอนุกรรมการขับเคลื่อนเศรษฐกิจพอเพียง สำนักงานคณะกรรมการเศรษฐกิจและสังคม
แห่งชาติ. (2550). การประยุกต์ใช้ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง. พิมพ์ครั้งที่ 3. กรุงเทพฯ: กลุ่มงาน เศรษฐกิจพอเพียง สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจพอเพียง.
มาเรียม นิลพันธุ์และคณะ. (2554). การพัฒนารูปแบบการจัดการเรียนรู้ตามหลักปรัชญาของ
เศรษฐกิจพอเพียงในรายวิชาชีพครู กรณีคณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร. บัณฑิตวิทยาลัย : มหาวิทยาลัยศิลปากร.
วิชัย วงศ์ใหญ่. (2557). สี่เสาหลักของการศึกษา. [ออนไลน์]. เข้าถึงเมื่อ 27 กรกฎาคม 2558
เข้าถึงได้จาก www.curriculumandlearning.com/upload/สี่เสาหลักทางการศึกษา_1400078221.pdf.
ศิริวรรณ ศรีพหล. (2556). การจัดการเรียนรู้เพื่อพัฒนาคุณธรรม จริยธรรมตามหลักปรัชญา
ของเศรษฐกิจพอเพียง. วารสารพัฒนาการเรียนการสอน มหาวิทยาลัยรังสิต ปีที่ 7 ฉบับที่ 1 เลขหน้า 1-30.