ปัจจัยที่มีผลต่อคุณภาพบริการสาธารณะขององค์การบริหาร ส่วนจังหวัดในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ

Main Article Content

พระครูไพโรจน์วัฒนาทร (โชคชัย เทาศิริ)
ธรรมนิตย์ วราภรณ์
ชัยยศ จินารัตน์

บทคัดย่อ

การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อเสนอแนะองค์ประกอบที่สำคัญของพฤติกรรมภาคพลเมืองในองค์กร (Organization Citizenship Behavior) และองค์ประกอบของภาวะผู้นำสาธารณะ (Public Leadership) ที่ทำให้เกิดคุณภาพบริการสาธารณะในการบริการประชาชน โดยผู้วิจัยได้สร้างและพัฒนาแบบสอบถามจำนวน 92 ข้อขึ้นมาด้วยตนเอง แล้วนำไปเก็บข้อมูลจากกลุ่มตัวอย่างที่เป็นเจ้าหน้าที่ขององค์การบริหารส่วนจังหวัดในเขตภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนล่างจำนวน 8 จังหวัด จำนวน 296 คน สถิติที่ใช้ ได้แก่ ความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน วิเคราะห์สัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ และการวิเคราะห์ถดถอยพหุคูณแบบ Stepwise ผลปรากฏว่า ตัวแปรทั้งสาม มีค่าเฉลี่ยอยู่ในระดับมาก ทั้งตัวแปรหลักและองค์ประกอบ รวมไปถึง มีความสัมพันธ์ไปในทิศทางเดียวกันระดับปานกลางถึงมาก อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 นอกจากนี้ ภาวะผู้นำสาธารณะแบบใหม่ ภาวะผู้นำแบบมืออาชีพ และภาวะผู้นำแบบบูรณาการ ทั้งนี้โดยมีสัมประสิทธิ์พยากรณ์ร่วมกันที่ร้อยละ 76 อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05

Article Details

บท
Research Articles
Author Biographies

ธรรมนิตย์ วราภรณ์ , มหาวิทยาลัยการจัดการและเทคโนโลยีอีสเทิร์น

The Eastern University of Management and Technology

ชัยยศ จินารัตน์, มหาวิทยาลัยการจัดการและเทคโนโลยีอีสเทิร์น

The Eastern University of Management and Technology

References

บรรเทา ไชยโคตร. (2559). ความพึงพอใจของประชาชนที่มีต่อการให้บริการสาธารณะ ขององค์การบริหารส่วนตำบลกมลาไสย อำเภอกมลาไสย จังหวัดกาฬสินธุ์, วารสาร มหาวิทยาลัยมหามกุฎราชวิทยาลัย วิทยาเขตร้อยเอ็ด, 5(1), 191-211.

วีระศักดิ์ จินารัตน์ (2564). ระเบียบวธีวิจัยสมัยใหม่ (Modern Research Methodology). อุบลราชธานี: สำนักพิมพ์ยงสวัสดิ์อินเตอร์กรุ๊ป

Acsencio, H. & Mujkic, E. (2016). Leadership behaviors and trust in leaders: Evidence from the U.S. federal government. Public Administration Quarterly, 40(1), 156-179.

Allison, B. J., Voss, R. S., & Dryer, S. (2001). Students classroom and career success: The role of organizational citizenship behavior. Journal of Education for Business, 76(5), 282-288.

Barrow, J.C. (1977). The variables of leadership: A review and conceptual framework. Academy of Management Review, 2(2), 231-251.

DiPaola, M., Tarter, C., & Hoy, W. K. (2005). Measuring organizational citizenship in schools: The OCB Scale. In Wayne K. Hoy & Cecil Misket (Eds.) Leadership and Reform in American Public Schools. Greenwich, CT: Information Age.

Hartley, J. (2018). Ten propositions about public leadership. International Journal of Public Leadership, 14(4), 202-217

Lin, J. S., & Lin, S. C. (2011). Moderating effect of organizational climate on the relationship of organizational support and service-oriented organizational citizenship behavior. African Journal of Business Management, 5(2), 582.

Northouse, P.G. (2016). Leadership: Theory and practice (7th ed.). Los Angeles, CA, US: Sage.

Organ, D.W. (1988). Organizational citizenship behavior: the good soldier syndrome. D.C. Health and Company, Lexington, MA.

Parris, D.L. & Peachey, J.W. (2013). A Systematic literature review of servant leadership theory in organizational contexts. Journal of Business Ethics, 113(3), 377-393.

Parasuraman, A. (1988). The service-quality puzzle. Business Horizons, 31 (5), 35-43

Podsakoff, P. M., Mackenzie, S. B., Paine, J. B., & Bachrach, D. G. (2000). Organizational citizenship behavior: A critical review of the theoretical and empirical literature and suggestions and suggestions for future research. Journal of management, 26(3), 513-563.

Randeree, K. & Chaudhry, A.G. (2012). Leadership style, satisfaction and commitment. Engineering, Construction and Architectural Management, 19(1), 61-85.

Smith, C., Organ, D. W., & Near, J. P. (1983). Organizational citizenship behavior: Its nature and antecedent. Journal of Applied Psychology, 68(4), 653-663.