ความพึงพอใจของผู้ใช้บริการและการออกแบบเว็บไซด์ ในการให้บริการการศึกษา

Main Article Content

คัมภีร์ นิลแสง

บทคัดย่อ

งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความพึงพอใจของผู้ใช้บริการและการออกแบบเว็บไซต์ในการให้บริการการศึกษาของนักศึกษามหาวิทยาลัยในจังหวัดอุบลราชธานีโดยใช้แบบสอบถามชนิดมาตรวัด 5 ระดับ จำนวน 24ข้อทดสอบความตรงและความเชื่อมั่น สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ได้แก่ ความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ทดสอบ t-test, F-test, MANOVA และPearson Correlation ผลวิจัยพบว่า ค่าเฉลี่ยของความพึงพอใจที่มีต่อเว็บไซต์การบริการจากทั้งในภาพรวมและรายด้านอยู่ในระดับมากโดยมีค่าเฉลี่ย 3.50 (SD =.40 ) นอกจากนี้ ปัจจัยส่วนบุคคลของกลุ่มตัวอย่างจำแนกตามเพศอายุระดับการศึกษา แสดงผลต่อความพึงพอใจไม่แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 โดยมีผลทดสอบ F= .122 (Sig .728), .872(Sig.481),2.308(Sig.058)ตามลำดับ

Article Details

บท
Research Articles

References

สำนักงานสถิติแห่งชาติ (2563). สำรวจการมีการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารในครัวเรือน พ.ศ.2563. สืบค้นจาก http://www.nso.go.th/sites/2014/DocLib13/, วันที่ 14 กันยายน 2563

สำนักบริหารการทะเบียน กรมการปกครองกระทรวงมหาดไทย (2563). โครงสร้างข้อมูลสถิติจำนวนประชากรแยกรายอายุ. สืบค้นจากhttps://stat.bora.dopa.go.th/new_stat/webPage/statByAge.php วันที่ 12 สิงหาคม 2563

Kotler, P. & Keller, K.L. (2006). Marketing management (12th ed.) Upper Saddle River: Prentice Hall.

Rita, P., Oliveira, T. & Farisa, A. (2019). The impact of e-service quality and customer satisfaction on customer behavior in online shopping. 'ISCTE Business School (IBS), Instituto Universitario de Lisboa, Portugal.