สภาพความต้องการจำเป็นและแนวทางพัฒนาการจัดประสบการณ์การศึกษาปฐมวัยในสถานการณ์การแพร่ระบาดของเชื้อไวรัส โคโรนา โควิด-19 โรงเรียนในสังกัดสำนักงาน เขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาบึงกาฬ

Main Article Content

ปุณยาภรณ์ พินะสา
ทัศนา ประสานตรี
สุมาลี ศรีพุทธรินทร์

บทคัดย่อ

การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาสภาพปัจจุบันและสภาพที่พึงประสงค์ 2) ประเมินความต้องการจำเป็น และ 3) พัฒนาแนวทางพัฒนาการจัดประสบการณ์การศึกษาปฐมวัยในสถานการณ์การแพร่ระบาดของเชื้อไวรัสโคโรนา โควิด-19 โรงเรียนในสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาบึงกาฬ กลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ ผู้บริหารสถานศึกษา รองผู้บริหารสถานศึกษาและครูปฐมวัย จำนวน 337 คน กำหนดขนาดกลุ่มตัวอย่างโดยใช้เกณฑ์ร้อยละ ได้มาโดยการสุ่มแบบแบ่งชั้น เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย มีจำนวน 4 ฉบับ คือ 1) แบบสอบถามสภาพปัจจุบันของการจัดประสบการณ์การศึกษาปฐมวัยในสถานการณ์การแพร่ระบาดของเชื้อไวรัสโคโรนา โควิด-19 2) แบบสอบถามสภาพที่พึงประสงค์ของการจัดประสบการณ์การศึกษาปฐมวัยในสถานการณ์การแพร่ระบาดของเชื้อไวรัสโคโรนา โควิด-19 3) แบบสัมภาษณ์แบบมีโครงสร้างและ 4) แบบประเมินความเหมาะสมและความเป็นไปได้ของแนวทางพัฒนาการจัดประสบการณ์การศึกษาปฐมวัยในสถานการณ์การแพร่ระบาดของเชื้อไวรัสโคโรนา โควิด-19 สถิติที่ใช้ ได้แก่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ยส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และค่าดัชนีการจัดลำดับความสำคัญของความต้องการจำเป็นแบบปรับปรุง (PNIModified) ผลการวิจัย พบว่า 1) สภาพปัจจุบันของการจัดประสบการณ์การศึกษาปฐมวัยในสถานการณ์การแพร่ระบาดของเชื้อไวรัสโคโรนาโควิด-19 โรงเรียนในสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาบึงกาฬ โดยภาพรวมอยู่ในระดับมาก และสภาพที่พึงประสงค์ของการจัดประสบการณ์การศึกษาปฐมวัยในสถานการณ์การแพร่ระบาดของเชื้อไวรัสโคโรนา โควิด-19 โรงเรียนในสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาบึงกาฬ โดยภาพรวมอยู่ในระดับมากที่สุด 2) การประเมินความต้องการจำเป็นของการจัดประสบการณ์การศึกษาปฐมวัยในสถานการณ์การแพร่ระบาดของเชื้อไวรัสโคโรนา โควิด-19 โรงเรียนในสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาบึงกาฬ ด้านที่มีค่าสูงสุด 3 อันดับแรก ได้แก่ ด้านแนวปฏิบัติสำหรับสถานศึกษา ด้านแนวปฏิบัติสำหรับผู้ปกครอง  และด้านการรักษาสุขอนามัยส่วนบุคคลและสุขภาวะของเด็กปฐมวัย 3) แนวทางการพัฒนาของการจัดประสบการณ์การศึกษาปฐมวัยในสถานการณ์การแพร่ระบาดของเชื้อไวรัสโคโรนาโควิด-19

Article Details

บท
Research Articles
Author Biographies

ทัศนา ประสานตรี , มหาวิทยาลัยนครพนม

Nakhon Phanom University

 

สุมาลี ศรีพุทธรินทร์, มหาวิทยาลัยนครพนม

Nakhon Phanom University

References

กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข. (2564ข). รายงานโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019

(COVID-19). กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์ชุมนุมสหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย.กรมอนามัย

______. (2563) .คู่มือการจัดการโรงเรียนรับมือโควิด-19. กรุงเทพฯ : บริษัท สหมิตรพริ้นติ้ง

แอนด์พับลิสชิ่ง จํากัด.

______. (2563). คู่มือการเฝ้าระวังติดตามและแผนเผชิญเหตุรองรับการแพร่ระบาดของโรค

โควิด 19 ในสถานศึกษา. กรุงเทพฯ :สำนักงานกิจการโรงพิมพ์องค์การสงเคราะห์

ทหารผ่านศึก ในพระบรมราชูปถัมภ์.

______. (2563). คู่มือการปฏิบัติสำหรับสถานพัฒนาเด็กปฐมวัย ในการป้องกันการแพร่

ระบาดของโรคโควิด-19. กรุงเทพฯ :กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข.

กุลยา ตันติผลาชีวะ. (2551). การจัดกิจกรรมการเรียนรู้สำหรับเด็กปฐมวัย.กรุงเทพฯ: เบรน-

เบส บุ๊คส์.

ดิษิรา ผางสง่า,ศศิลักษณ์ ขยันกิจ. (2564). บทบาทผู้ปกครองในการส่งเสริมสุขอนามัย

เด็กวัยอนุบาลในช่วงการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ในโรงเรียนวัดอมรินทราราม .OJED. Vol. 16. No. 2. 2021.

เทื้อน ทองแก้ว. (2563). การออกแบบการศึกษาในชีวิตวิถีใหม่: ผลกระทบจากการแพร่

ระบาดCOVID-19 New Normal Based Design in Education: Impact of

COVID-19. คุรุสภาวิทยาจารย์ JOURNAL OF TEACHER PROFESSIONAL

DEVELOPMENT ปีที่ 1 ฉบับที่ 2 พฤษภาคม – สิงหาคม 2563

บุญชม ศรีสะอาด. (2556). การวิจัยเบื้องต้น. พิมพ์ครั้งที่ 9. กรุงเทพฯ : สุวีริยาสาส์น.

พัชราภรณ์ ดวงชื่น. (2563). การบริหารจัดการศึกษารับความปกติใหม่หลังวิกฤตโควิด-19.

วารสารศิลปการจัดการ ปีที่ 4 ฉบับที่ 3 กันยายน – ธันวาคม 2563

พระครูสังฆรักษ์สิงห์ชัย ฐิตธมฺโม,พระครูศรีสุธรรมนิวิฐ (ธานี สุขโชโต),วรกฤต เถื่อน

ช้าง. (2563).การดูแลช่วยเหลือนักเรียนและการจัดการเรียนการสอนในสถานการณ์

โควิด-19. บัณฑิตศึกษาปริทรรศน์ วิทยาลัยสงฆ์นครสวรรค์ ปีที่ 8 ฉบับที่ 2

(วิสาขบูชา) พฤษภาคม-สิงหาคม

วิธิดา พรหมวงศ์,ทัศนา ประสานตรี,สุมาลี ศรีพุทธรินทร์. (2564). สภาพปัจจุบัน ปัญหา

และแนวทางแก้ปัญหาการจัดการเรียนรู้ในช่วงการแพร่ระบาดของเชื้อไวรัส

โควิด-19 ของโรงเรียน ในสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา

นครพนม เขต 1. วารสารรัชต์ภาคย์ ปีที่ 15 ฉบับที่ 40 พฤษภาคม-มิถุนายน

-TCI กลุ่มที่ 2 มนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ ปี 2563-2567.

อรพรรณ บุตรกตัญญู. (2562) .New normal สำหรับเด็กปฐมวัยจากสถานการณ์

โควิด-19. (Online). https://www.bangkokbiznews.com/news/detail/879530, 5 เมษายน 2564.

อรพรรณ บุตรกตัญญู. (2563) .New Normal เด็กปฐมวัย . (Online).

https://www.starfishlabz.com/blog/207-new-normal-19, 5 เมษายน 2564.

Karen D'Souza. (2021) .Early Childhood Education Experience coronavirus-

(Online).https://edsource.org/2021/should-kindergarten, 5

เมษายน 2564.