แนวทางการพัฒนาโรงเรียนชุมชนแห่งการเรียนรู้สังกัด สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาสุรินทร์

Main Article Content

ไกรศักดิ์ สุรพงษ์พิวัฒนะ
วสันต์ชัย กากแก้ว
ศุภธนกฤษ ยอดสละ

บทคัดย่อ

การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ เพื่อศึกษาแนวทางการพัฒนาโรงเรียนชุมชนแห่งการเรียนรู้ สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาสุรินทร์ สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาสุรินทร์ กลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ ผู้บริหารและครู จำนวน 346 คน โดยการสุ่มตัวอย่างแบบการสุ่มแบบแบ่งชั้นภูมิ (Stratified Random Sampling)  และการสัมมนาอิงผู้เชี่ยวชาญ (connoisseurship) จำนวน 10 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยคือแบบสอบถาม และแบบบันทึกการสัมมนาอิงผู้เชี่ยวชาญฯสถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล คือ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และค่าดัชนีลำดับความสำคัญของความต้องการจำเป็น ผลการวิจัยพบว่า


แนวทางการพัฒนาโรงเรียนชุมชนแห่งการเรียนรู้ สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาสุรินทร์ พบว่า  1) ด้านการจัดการเรียนรู้ในชั้นเรียนแบบเชิงรุก ประกอบด้วย แนวทางย่อย 4 แนวทาง 2) ด้านการศึกษาชั้นเรียน ประกอบด้วยแนวทางย่อย 4 แนวทาง   3) ด้านวิจัยในชั้นเรียน ประกอบด้วยแนวทางย่อย 4 แนวทาง 4) ด้านระบบชี้แนะและระบบพี่เลี้ยง ประกอบด้วยแนวทางย่อย 3 แนวทาง 5) ด้านการร่วมมือรวมพลัง และการสร้างชุมชนแห่งการเรียนรู้ทางวิชาชีพ ประกอบด้วยแนวทางย่อย 3 แนวทาง และ 6) ด้านการสร้างวิสัยทัศน์ร่วมกัน ประกอบด้วยแนวทางย่อย 4 แนวทาง

Article Details

บท
Research Articles
Author Biographies

วสันต์ชัย กากแก้ว , มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์

Surindra Rajabhat University

ศุภธนกฤษ ยอดสละ, มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์

Surindra Rajabhat University

References

ซาโต มานาบุ. (2562). การปฏิรูปโรงเรียน แนวคิด“ชุมชนแห่งการเรียนรู้”กับการนำ

ทฤษฎีมาปฏิบัติจริง. นนทบุรี :ภาพพิมพ์.

ธนกฤต อั้งน้อย. (2563). รูปแบบการพัฒนาสมรรถนะครูใหม่ในศตวรรษที่ 21 ตามแนวคิด

โรงเรียนเป็นองค์การแห่งการเรียนรู้. บัณฑิตวิทยาลัย : มหาวิทยาลัยนเรศวร.

พระมหาจิตติพงษ์ ฉนฺทโก. (2562). การพัฒนาความเป็นโรงเรียนแห่งการเรียนรู้ของ

โรงเรียนวัดศรีจันทร์ จังหวัดขอนแก่น : การวิจัยเชิงปฏิบัติการแบบมีส่วนร่วม.

บัณฑิตวิทยาลัย : มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย.

พิรุณ ศิริศักดิ์. (2562). การวิจัยและพัฒนาหลักสูตรอิงอัตลักษณ์นักเรียนที่บูรณาการการ

พัฒนาบทเรียนร่วมกันผ่านชุมชนแห่งการเรียนรู้ทางวิชาชีพ : กรณีศึกษาหลักสูตรกุลสตรีราชินีบน. กรุงเทพฯ :โรงเรียนกุลสตรีราชินีบน.

ภูริทัต ชัยวัฒนกุล. (2562).“แนวทางการพัฒนาสมรรถนะครูพี่เลี้ยงด้วยกระบวนการพัฒนา

บทเรียนร่วมกันและการวิเคราะห์สาเหตุของปัญหาตามแนวคิดโรงเรียนเพลินพัฒนาเป็นชุมชนแห่งการเรียนรู้.”วารสารวิชาการ. 22 (3) : 35-45.

มยุรี เจริญศิริ. (2563). การพัฒนารูปแบบโรงเรียนชุมชนแห่งการเรียนรู้เชิงวิชาชีพ เพื่อ

เสริมสร้างสมรรถนะของครูในการจัดการเรียนรู้ตามแนวคิด Active Learning ที่ส่งเสริมความสามารถในการสร้างสรรค์นวัตกรรมของนักเรียนระดับประถมศึกษา. บัณฑิตวิทยาลัย : มหาวิทยาลัยศิลปากร.

ลัดดา ภู่เกียรติ. (2564). กระบวนการขับเคลื่อน ชุมชนแห่งการเรียนรู้ทางวิชาชีพ : PLC.

สืบค้นเมื่อ 10 ตุลาคม 2563. จาก https://cms.20ed.school/uploads/.

วสันต์ ปัญญา. (2561). เอกสารคู่มือการพัฒนาครูโดยใช้ระบบการชี้แนะและการเป็นพี่เลี้ยง

โรงเรียนเมืองกระบี่ (Muangkrabi School-Coaching and Mentoring System หรือ MK-CMS). กระบี่ : โรงเรียนเมืองกระบี่ สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 13

ศนิชา ภาวโน. (2562). รูปแบบการพัฒนาผู้บริหารโรงเรียนตามแนวคิดโรงเรียนเป็นชุมชน

แห่งการเรียนรู้. บัณฑิตวิทยาลัย :จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

ศุภธนกฤษ ยอดสละ. (2560). สภาพปัญหาและความต้องการรูปแบบชมุชนแห่งการเรียนรู้

เชิงวิชาชีพตามแนวทางสะเต็มศึกษาเพื่อยกระดับคณุ ภาพการศึกษาของโรงเรียนขยายโอกาสทางการศึกษา จังหวัดสุรินทร์.บัณฑิตวิทยาลัย : มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์.

สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 33. (2562). แบบรายงานผลการดำเนิน

กิจกรรมพัฒนาวิชาชีพแบบชุมชนแห่งการเรียนรู้ทางวิชาชีพ (Professional Learning Communiity : PLC) ประจำปีการศึกษา 2562. สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา มัธยมศึกษา เขต 33

¬______.(2563). แบบรายงานผลการดำเนินกิจกรรมพัฒนาวิชาชีพแบบชุมชนแห่งการเรียนรู้

ทางวิชาชีพ (Professional Learning Communiity : PLC) ประจำปีการศึกษา

สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา มัธยมศึกษา เขต 33.

สำนักพัฒนานวัตกรรมการจัดการศึกษา. (2563). การประชุมปฏิบัติการจัดทำแนวทางการ

ยกระดับคุณภาพโรงเรียนเป็นชุมชนแห่งการเรียนรู้ (School as Learning Community) เพื่อพัฒนาสมรรถนะพลเมืองรุ่นใหม่. สืบค้นเมื่อ 10 ตุลาคม 2563.จาก http://www.innoobec.com.

สำเริง บุญโต. (2563). รายงานผลการบริหารจัดการคุณภาพการศึกษา สำนักงานเขตพื้นที่

การศึกษามัธยมศึกษาเขต 33 โดยรูปแบบ TPS Model. สืบค้นเมื่อ 10 มิถุนายน

จาก https://www.obec.go.th/wp-content/uploads/2019/03/.

อรพิณ ศิริสัมพันธ์และปรณัฐ กิจรุ่งเรือง. (2561). การพัฒนาครูมืออาชีพด้วยนวัตกรรม

สร้างสรรค์การเรียนรู้เพื่อพัฒนาผู้เรียนในภูมิภาคตะวันตก. บัณฑิตวิทยาลัย : มหาวิทยาลัยศิลปากร นครปฐม.