การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีในการพัฒนาการสอนสังคมศึกษา ในศตวรรษที่ 21

Main Article Content

พิพิธธนวดี สมคะเณย์
ประยูร แสงใส

บทคัดย่อ

การสอนสังคมศึกษาในศตวรรษที่ 21 เป็นการวิเคราะห์ สังเคราะห์และพัฒนาแนวคิดสำหรับการจัดการเรียนรู้วิชาสังคมศึกษาโดยเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. 2551 เน้นให้ผู้เรียนแสวงหาความรู้ด้วยการลงมือปฏิบัติที่นำเสนอประกอบด้วยวิธีการจัดการเรียนรู้ทั้งหมด 5 วิธี คือ 1) การจัดการเรียนรู้แบบการใช้ปัญหาเป็นฐาน (Problem-based learning) 2) การจัดการเรียนรู้แบบการใช้โครงงานเป็นฐาน (Project-based learning) 3) การจัดการเรียนรู้แบบการใช้ความคิดสร้างสรรค์เป็นฐาน (Creativity-based learning) 4) การจัดการเรียนรู้แบบสะเต็มศึกษา (STEM education) และ 5) การศึกษาบทเรียนและวิธีการแบบเปิด (Lesson study & open approach)

Article Details

บท
Articles
Author Biography

ประยูร แสงใส, มหาวิทยาลัยกาฬสินธุ์

Kalasin University

References

กระทรวงศึกษาธิการ. (2557). แนวปฏิบัติตามประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เรื่อง นโยบาย

การปฏิรูปการเรียนการสอนภาษาอังกฤษ. กรุงเทพฯ: บริษัท จามจุรีโปรดักส์ จำกัด.

เกรียงศักดิ์ เจริญวงศักดิ์. (2541). สอนอย่างไรให้คิดเป็น. วิทยาจารย์, 97(3-5) มีนาคม.-

พฤษภาคม, 77-79.

จิรายุทธิ์ อ่อนศรี. (2550) คุณลักษณะอันพึงประสงค์ของผู้สำเร็จการศึกษาระดับ

ประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง [ปวส.] ประเภทวิชาช่างอุตสาหกรรม ตามความต้องการของผู้ประกอบการในเขตบึงกุ่ม กรุงเทพมหานคร . บัณฑิตวิทยาลัย :มหาวิทยาลัยรามคำแหง.

ไพฑูรย์ สินลารัตน์. (2557). กลยุทธ์การเรียนรู้. กรุงเทพฯ : จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

วิจารณ์ พานิช. (2555). วิถีสร้างการเรียนรู้เพื่อศิษย์ในศตวรรษที่ 21. กรุงเทพฯ: มูลนิธิ

สดศรีสฤษดิ์วงศ์.